What is the optimum stocking rate ?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กฎกระทรวง กำหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับวัตถุอันตราย พ. ศ
Advertisements

การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ
คณิตศาสตร์ที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน

การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
Formulation of herbicides Surfactants
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
แผนปฏิบัติตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ จำนวนฟาร์มที่ตรวจประเมินและ รับรองมาตรฐาน 2. จำนวนพันธุ์สัตว์น้ำที่ผลิตและนำไป ปล่อยในแหล่งน้ำ 3. จำนวนพันธุ์สัตว์น้ำที่ผลิตในพื้นที่
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
โครงสร้างต้นทุนการผลิตและราคาขาย ณ โรงงานสุรา (สุรากลั่นชุมชน)
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
การขอรับการสนับสนุนน้ำเพื่อการเกษตรจากเขื่อนนเรศวร
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
การจัดเก็บข้อมูลภูมิปัญญา
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 49/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษประเภทการเลี้ยงสุกร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 24 พฤศจิกายน 2554.
3. ข้อมูลแหล่งน้ำที่พัฒนา
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
ข้อมูลผลผลิตของสบู่ดำ
การแจกแจงปกติ.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
รายงานกรฝึกงาน สัตวศาสตร์ 3
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
************************************************
ปัจจัยที่ประสบความสำเร็จ
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
Wean-to-Finish (WTF) System
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
องค์ประกอบผลประโยชน์ของรัฐ ตามระบบสัมปทานไทย(Thailand III)
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2559 งบประมาณ ล้านบาท
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
การปลูกและดูแลปาล์มน้ำมันในภาคอีสาน
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

What is the optimum stocking rate ? การจัดการแปลงพืชอาหารสัตว์ที่ดี ควรให้มีอัตราสัตว์แทะเล็ม พอดีกับปริมาณของพืชอาหารสัตว์ที่มีอยู่ ทั้งในช่วงฤดูฝน และฤดูแล้ง อัตราสัตว์แทะเล็มที่เหมาะสม เรียกว่า optimum stocking rate อัตราสัตว์แทะเล็ม จะใช้หน่วยเป็น animal unit (A.U.)แทนคำว่า “ ตัว ”

หน่วย 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 300 กิโลกรัม

การคำนวณ optimum stocking rate พื้นที่ 10 ไร่ ปลูกหญ้ารูซี่ ในช่วงฤดูฝน ถ้าใช้ประโยชน์โดยการปล่อยให้ สัตว์แทะเล็ม จะต้องใช้อัตราสัตว์ กี่ หน่วยจึงจะเหมาะสม การคำนวณ โดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้ - ผลผลิตของหญ้ารูซี่ - ระยะเวลาที่ปล่อยแทะเล็ม (ตั้งแต่ มิถุนายน-พฤศจิกายน) - ความต้องการอาหารของสัตว์ (น้ำหนักแห้ง) คิดเป็น 3 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัวสัตว์ - 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 300 กิโลกรัม

1. ผลผลิต(น้ำหนักแห้ง)ของหญ้ารูซี่ ในสภาพการแทะเล็ม ตั้งแต่เดือนมิ.ย.– พ.ย. มีผลผลิตสะสม 1.175 ตันต่อไร่ ดังนั้น พื้นที่แปลงหญ้า 10 ไร่ จะได้ผลผลิตสะสมเท่ากับ 11.75 ตัน (1.175 X 10) หรือ 11,750 กิโลกรัม 2. ระยะเวลาที่ปล่อยแทะเล็ม โจทย์ระบุตั้งแต่ ตั้งแต่เดือนมิ.ย.– พ.ย. รวมเป็นระยะเวลา 183 วัน

3. การใช้อาหารในแต่ละวัน และอัตราสัตว์ที่ปล่อย (optimum stocking rate ) ก. การใช้อาหารในแต่ละวัน ระยะเวลาที่แทะเล็มในแปลง 183 วัน ใช้อาหารหยาบ 11,750 กิโลกรัม “ “ 1 “ “ 1 x 11,750 183 = 64.208 กก. ดังนั้น ปริมาณอาหารหยาบ 64.208 กก. นี้ จะต้องใช้อัตราสัตว์แทะเล็ม กี่ A.U. ?ต่อวัน

ข. อัตราสัตว์ที่ปล่อยแทะเล็ม (optimum stocking rate ) วิธีที่ 1 เมื่อ - 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่ มีน้ำหนักประมาณ 300 กิโลกรัม - ความต้องการอาหารของสัตว์ (น้ำหนักแห้ง) คิดเป็น 3 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัวสัตว์ ดังนั้น โคน้ำหนัก 100 กิโลกรัม ต้องการอาหาร 3 กิโลกรัม โคโตเต็มที่ น้ำหนัก 300 กิโลกรัม(1 A.U. ) “ 300 X 3 100 = 9 กิโลกรัม

ใน 1 วัน จะใช้อาหารหยาบแห้ง 9 กิโลกรัม เลี้ยงโคที่โตเต็มที่ ใน 1 วัน จะใช้อาหารหยาบแห้ง 9 กิโลกรัม เลี้ยงโคที่โตเต็มที่ น้ำหนัก 300 กิโลกรัม หรืออาหารหยาบแห้ง 9 กิโลกรัม ใช้อัตราสัตว์ 1 A.U. (Animal Unit) เมื่ออาหารหยาบแห้ง 9 กิโลกรัม ใช้อัตราสัตว์ 1 A.U. “ 64.208 “ 64.208 X 1 9 = 7.134 A.U. หรือน้ำหนักสัตว์ทั้งหมด 2,140.2 กิโลกรัม (7.134 X 300) ดังนั้นจำนวนโคที่ปล่อยทั้งหมด น้ำหนักรวมกันแล้วต้องไม่ เกิน 2,140.2 กิโลกรัม ต่อวัน

ข. อัตราสัตว์ที่ปล่อยแทะเล็ม (optimum stocking rate ) วิธีที่ 2 ระยะเวลา 1 วัน สัตว์ 1 A.U. ต้องการอาหารแห้ง 9 กก. ระยะเวลา 183 วัน --------------”------------- 9 x 183 =1,647 kg. อาหารแห้ง 1,647 kg. ระยะเวลา183 วัน ใช้เลี้ยงสัตว์ได้ 1 A.U. ----------- 11,750 --------” ----------- 11,750 1,647 = 7.13 A.U.