สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
ภาษา SQL (Structured Query Language)
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
Security and Integrity
ภาษา SQL (Structured Query Language)
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง Basic SQL
MySQL.
ข้อดีของฐานข้อมูล 1. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล โดยข้อมูลเรื่องเดียวกันอาจมีอยู่หลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
SQL - Structured Query Language
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
Chapter 8 : การควบคุมความปลอดภัย (Security Control)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
Chapter 3 แบบจำลองข้อมูล : Data Models
Chapter 2 Database systems Architecture
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
๕.๖ ส่วนประกอบของ DBMS ในการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องมีการสอบถามหรือค้นหาคำตอบ รวมถึงการเพิ่มและการลบข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล.
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Creating Database With Structure Query Language (SA&D-8)
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
SQL Structured Query Language.
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
SQL เพื่อควบคุมความปลอดภัย (Week 2). การควบคุมการเข้าถึงข้อมูล ระบบการจัดการข้อมูลโดยส่วนใหญ่จะมีกลไกที่ ทำให้แน่ใจได้ว่าเฉพาะผู้มีสิทธิเท่านั้นที่ สามารถเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูล.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
1. รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
: Introduction to DATABASE (ฐานข้อมูลเบื้องต้น)
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
CHAPTER 12 SQL.
ADO.NET (การบริหารและจัดการข้อมูล)
SQL Structured Query Language.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
บทที่ 12 ฐานข้อมูล.
SQL (Structure Query Language) ตอนที่ 1
Introduction to Database
PHP: [9] ฐานข้อมูล MYSQL
Database Management SQL Security.
Database & DBMS Architecture วรวิทย์ พูลสวัสดิ์. 2 2 ฐานข้อมูล (Database) - Data and its relation - Databases are designed to offer an organized mechanism.
Database Design & Development
SQL (Structured Query Language)
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
SQL (Structured Query Language)
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
제 10장 데이터베이스.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล หัวข้อเนื้อหา       1. ระดับของข้อมูล      2. ความเป็นอิสระของข้อมูล      3. ภาษาที่ใช้ในระบบฐานข้อมูล

ระดับของข้อมูล สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล (Database System Architecture)     กลุ่ม The American National Standards Institute (ANSI) ได้แบ่งสถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล ออกเป็น 3 ระดับ คือ          1. ระดับภายนอก (External level)         2. ระดับแนวคิด (Conceptual level)         3. ระดับภายใน (Internal level)

1. ระดับภายนอก (External level) เป็นระดับภายนอก ที่ผู้ใช้แต่ละคนสามารถเห็นข้อมูล และเรียกใช้ข้อมูลได้แตกต่างกันออกไป โดยไม่รู้ว่าข้อมูลจริงในฐานข้อมูลถูกเก็บในลักษณะใดหรือมีโครงสร้างแบบใด ซึ่งโครงสร้างของข้อมูลผู้ใช้มองเห็นจะแปรเปลี่ยนไปตามมุมมองของผู้ใช้ เช่น ข้อมูลวันที่ ผู้ใช้คนแรกเรียกใช้เป็นรูปแบบ 01/11/2003 (เดือน/วัน/ปี ค.ศ.) ผู้ใช้คนที่สอง เรียกใช้เป็นรูปแบบ 11 มกราคม 2546 (วัน เดือน ปี พ.ศ.) เป็นต้น

2. ระดับแนวคิด (Conceptual level) เป็นระดับที่มองโครงสร้างรวมของระบบฐานข้อมูล เน้นความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล รวมทั้งกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับข้อมูล และผู้ที่มีสิทธิจะใช้ข้อมูล ระดับแนวคิดนี้จะจัดเก็บข้อมูลระดับ Logical และมีคนจัดการคือ ผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA : Database Administrator) เพื่อจัดเตรียมข้อมูลทั้งหมดที่จะจัดเก็บ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลนั้น และวิธีการเรียกใช้ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการ ในลักษณะที่แตกต่างกัน การทำระดับแนวคิดจะเกี่ยวข้องกับการกำหนด เอนทิตี้ แอตทริบิวต์ และความสัมพันธ์ของแต่ละเอนทิตี้

3. ระดับภายใน (Internal level) เป็นการจัดเก็บข้อมูลระดับ physical ที่จัดเก็บข้อมูลด้วยโครงสร้างข้อมูลที่เหมาะสม ให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงการใช้ข้อมูลอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยกำหนดโครงสร้างข้อมูลว่าเป็นแบบใด เช่น แบบ Tree , pointer หรือ มีตัวใดเป็น index เพื่อใช้ในการค้นหาข้อมูล รวมถึงการบีบอัดข้อมูล และการเข้ารหัสข้อมูลสำหรับกำหนดสิทธิ์ในการเรียกใช้ข้อมูลของผู้ใช้ที่แตกต่างกัน การกำหนดโครงสร้างต่าง ๆ เหล่านี้ขึ้นอยู่กับผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA : Database Administrator)

ความเป็นอิสระของข้อมูล ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence)  วัตถุประสงค์ของการแบ่งสถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูลออกเป็น 3 ระดับ เพื่อให้เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence) คือในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับที่สูงกว่า จะไม่มีผลกระทบการข้อมูลในระดับที่ต่ำกว่า

ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence)  ความเป็นอิสระของข้อมูลแบบตรรกะ (Logical Data Independence)             ความเป็นอิสระของข้อมูลแบบกายภาพ (Physical Data Independence)

ภาษาที่ใช้ในระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในฐานข้อมูล (Database Languages) ภาษาที่ใช้ในฐานข้อมูล คือภาษา SQL (Structure Query Language) (สามารถอ่านออกเสียงเป็น “เอสคิวแอล” (SQL) หรือ “ซีเควล” (Sequel) ก็ได้) เป็นภาษาในการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) ภาษา SQL ถูกพัฒนาขึ้นจากแนวคิดพื้นฐานของ relational calculus และ relational algebra ของ E.F.Codd ในปีค.ศ. 1970

กลุ่มคำสั่งของภาษา SQL ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) ภาษาจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) ภาษาควบคุมข้อมูล (Data Control Language : DCL)

1. ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) เป็นกลุ่มคำสั่งที่ใช้สำหรับสร้างหรือกำหนดโครงสร้างให้กับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เช่น การเพิ่ม ลบ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ attribute ต่าง ๆ ของตาราง หรือประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามีคอลัมน์อะไร แต่ละคอลัมน์เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน์ การกำหนดดัชนี การกำหนดวิวของผู้ใช้

CREATE TABLE นิยามโครงสร้างข้อมูลในตาราง. ที่สร้างขึ้น CREATE TABLE      นิยามโครงสร้างข้อมูลในตาราง ที่สร้างขึ้น            DROP TABLE          ลบโครงสร้างข้อมูลออกจาก ระบบ             ALTER TABLE         แก้ไขปรับปรุงโครงสร้างตาราง             CREATE INDEX       สร้างดัชนีของตารางโดยใช้หนึ่ง คอลัมน์หรือมากกว่า             DROP INDEX           ลบดัชนีของตารางออกจาก ระบบ              CREATE VIEW       กำหนดโครงสร้างวิวของผู้ใช้             DROP VIEW            ลบโครงสร้างวิวออกจากระบบ     

2. ภาษาจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) SELECT      เรียกค้นข้อมูลในตาราง             INSERT      เพิ่มแถวข้อมูลลงในตาราง             UPDATE     ปรับปรุงแถวข้อมูลในตาราง             DELETE      ลบแถวข้อมูลในตาราง

3. ภาษาควบคุมข้อมูล (Data Control Language : DCL) เป็นภาษาที่ใช้ในการควบคุมความถูกต้องของข้อมูล และควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล ภาษาในส่วนนี้จะทำการป้องกันการเกิดเหตุการณ์ที่ผู้ใช้หลายคนเรียกใช้ข้อมูลพร้อมกัน โดยจะทำหน้าที่ควบคุมความถูกต้องของการใช้ข้อมูล และทำการลำดับการใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนที่แตกต่างกัน และตรวจสอบสิทธิ์ในการใช้ข้อมูลนั้น ๆ โดยการกำหนดการทำงานทั้งหมดเป็นหน้าที่ของผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA)