จัดทำโดย cucumber mosaic virus นายธนภัค แสงมณี รหัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
Global Warming.
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
Tomato Yellow Leaf Curl Begomovirus จัดทำโดย 1
RICE RAGGED STUNT VIRUS (โรคจู๋ของข้าว)
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
Virus.
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
โครงงานด้านวิศวกรรม การศึกษาปริมาณการใช้น้ำในการปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง.
การจำแนกพืช.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
Papaya Ring Spot Virus (Potyviridae) จัดทำโดย
II. Post harvest loss of cereal crop
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
สัมมนาทางชีวิทยา เสนอ อ. ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น. ส
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
โครงงานต่อยอดเทคโนโลยีที่สืบค้นจากเอกสารสิทธิบัตรระดับนานาชาติ
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
นำเสนอโดย : นางสาวสุกัญญา เกิดกอง
Properties and Classification
ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว Viral Vaccine Antiviral agents
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
863封面 ทองคำ เขียว.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
การศึกษาดูงานนอกสถานที่ งานเจียไต๋ แฟร์ 2011 เสนอ... อาจารย์สุริภา เตียงนิล จัดทำโดย... ด. ช. ณัฐภูมิ คงกระพันธ์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ด. ช. ปรมัช ลิ้มติ้ว.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
DNA marker Selection (transformation, breeding) Identification
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
การป้องกันกำจัด  เตรียมพื้นที่ปลูกให้ปลอดโรค โดยขุด ทำลายตอยางเก่า  ในแหล่งที่มีโรคระบาด หลังเตรียมดิน แล้วควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่วเพื่อ ปรับสภาพดินให้เหมาะกับการ.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย cucumber mosaic virus นายธนภัค แสงมณี รหัส 4440074 นายธนภัค แสงมณี รหัส 4440074 นายธาวิช คงประสม รหัส 4440079 นางสาวปวีณา ชูจันทร์ รหัส 4440107 นางสาววัลยา บรมสุข รหัส 4440165 นายสิทธิพล คำแก้ว รหัส 4440192 นางสาวสุรัตน์วดี ศรีเมือง รหัส 4440209 นายอนุสรณ์ ขวัญคงบุญ รหัส 4440217 นางสาวนพวรรณ นิลสุวรรณ รหัส 4642014

Cucumber mosaic virus จัดอยู่ใน genus Cucumovirius Family Bromoviridae

CMV Particle Structure ไม่มีถุงหุ้ม (non - enveloped virion ) มีอนุภาคเป็นประเภททรงกลม (isometric or polyhedral) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 29 nm อนุภาค Cucumber mosaic virus

คุณสมบัติทางฟิสิกส์และเคมีของอนุภาคCMV (Physicochemical Properties of CMV Particles) ความหนาแน่นของอนุภาค (Density) มีค่า 1.367g cm-3 (Daniles and Campbell, 1992) ประสิทธิภาพในการตกตะกอน Sedimentation Coefficient มีค่า 99 s (Davis et al., 1996) ค่าการดูดกลืนแสง 260/280 มีค่า 1.7

คุณสมบัติของกรดนิวคลีอิคของไวรัส (Properties of the Viral Nucleic acid ) อนุภาคของCMV ประกอบด้วย Nucleic acid 18 % ขนาดของ Genome ทั้งหมด 8.621 Kb Genome เป็น plus - sense single -stranded RNA (+ssRNA)

ลักษณะอาการของโรคที่เกิดจาก CMV พืชตระกูลแตง ลักษณะอาการ Mosaic จะเห็นใบพืชเป็นสีเขียวอ่อนและแก่สลับกันบนใบพืชในกลุ่มพืชใบเลี้ยงคู่อาการ mosaic จะมีลวดลายไม่แน่นอน มีขอบเขตการด่างที่เห็นได้ชัดเจน Http : // www.idealibrary.com

พบ Inclusion ของ CMV ใน cell ที่ติดเชื้อ Cytopathology พบ Inclusion ของ CMV ใน cell ที่ติดเชื้อ stomata cells ของ Commelina diffusa

Inclusion CMV inclusion ใน epidermis cell ของ Capsicum annum http : // www.elsevier.com/virus

การถ่ายทอดเชื้อ CMV ลักษณะการถ่ายทอด มีเพลี้ยอ่อนเป็นแมลงพาหะและกลไกการถ่ายทอดประเภท non - persistent ลักษณะการถ่ายทอด เพลี้ยอ่อนจะเกาะบนใบพืชที่ติดเชื้อCMV ใช้ stylet ทิ่มแทงลงไปในใบพืชแล้วถอนออก โดยปกติจะใช้เวลาน้อยกว่า 30 วินาที เพื่อชิมพืชที่ติดเชื้อจะทำให้ไวรัสติดไปกับปลาย stylet เมื่อเพลี้ยอ่อนดูดกินพืชต้นใหม่ทำให้พืชได้รับการถ่ายทอดไวรัส

Myzus persicae แมลงพาหะเชื้อ CMV (http : // www.idealibrary.com )

การถ่ายทอดของCMVผ่านทางเมล็ด

ความสำคัญทางเศรษฐกิจ ของ CMV ในปี ค.ศ. 1987 พบการระบาดของ CMV ในประเทศอิตาลี และ สเปน โดย CMV จะเข้าไปทำลายมะเขือเทศทำให้ปริมาณการผลิตมะเขือเทศเพื่อการส่งออกลดลงถึง 30 % ของปริมาณการผลิตเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้านี้

ในปี ค.ศ. 1995 -1997 พบการระบาดของ CMV ในMediterranean ซึ่งลักษณะการที่ CMV เข้าทำลายในพืชอาศัยชนิดเดียวกับในประเทศ อิตาลี และ สเปน ในปัจจุบันพบว่า CMV ได้มีการแพร่ระบาด ไปอย่างกว้างขวาง ซึ่งได้แก่ประเทศ จีน กรีก สเปน อิตาลี ฯลฯ

การควบคุมและป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อCMV ไม่ควรปลูกพืชที่ง่ายต่อการเกิดโรคไว้ในที่บริเวณใกล้กัน กำจัดวัชพืชในแปลงและบริเวณรอบๆ เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งอาศัยของ CMV และ แมลงพาหะ เมื่อพบต้นไม้ที่เป็นโรค ควรรีบถอนรำไปเผาทำลาย การคลุมแปลงด้วยพลาสติกสะท้อนแสง สีบรอนซ์ จะช่วยลดการเข้าทำลายของแมลง ได้ระดับหนึ่ง ใช้เมล็ดพันธุ์ปลอดเชื้อ CMV

เอกสารอ้างอิง Davis, R.,BrownJ. F., and Pone, S.P.1996 . Causal relationship between cucumber mosaic cucumovirus and kava dieback in the South Pacific .Plant Disease Vol 80 : 194 -198 Daniels, J., and Campbell, R.N. 1992. Characterization of Cucumber mosaic virus isolates from California. Plant Disease. Vol 76 : 1245 -1250