จัดทำโดย cucumber mosaic virus นายธนภัค แสงมณี รหัส 4440074 นายธนภัค แสงมณี รหัส 4440074 นายธาวิช คงประสม รหัส 4440079 นางสาวปวีณา ชูจันทร์ รหัส 4440107 นางสาววัลยา บรมสุข รหัส 4440165 นายสิทธิพล คำแก้ว รหัส 4440192 นางสาวสุรัตน์วดี ศรีเมือง รหัส 4440209 นายอนุสรณ์ ขวัญคงบุญ รหัส 4440217 นางสาวนพวรรณ นิลสุวรรณ รหัส 4642014
Cucumber mosaic virus จัดอยู่ใน genus Cucumovirius Family Bromoviridae
CMV Particle Structure ไม่มีถุงหุ้ม (non - enveloped virion ) มีอนุภาคเป็นประเภททรงกลม (isometric or polyhedral) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 29 nm อนุภาค Cucumber mosaic virus
คุณสมบัติทางฟิสิกส์และเคมีของอนุภาคCMV (Physicochemical Properties of CMV Particles) ความหนาแน่นของอนุภาค (Density) มีค่า 1.367g cm-3 (Daniles and Campbell, 1992) ประสิทธิภาพในการตกตะกอน Sedimentation Coefficient มีค่า 99 s (Davis et al., 1996) ค่าการดูดกลืนแสง 260/280 มีค่า 1.7
คุณสมบัติของกรดนิวคลีอิคของไวรัส (Properties of the Viral Nucleic acid ) อนุภาคของCMV ประกอบด้วย Nucleic acid 18 % ขนาดของ Genome ทั้งหมด 8.621 Kb Genome เป็น plus - sense single -stranded RNA (+ssRNA)
ลักษณะอาการของโรคที่เกิดจาก CMV พืชตระกูลแตง ลักษณะอาการ Mosaic จะเห็นใบพืชเป็นสีเขียวอ่อนและแก่สลับกันบนใบพืชในกลุ่มพืชใบเลี้ยงคู่อาการ mosaic จะมีลวดลายไม่แน่นอน มีขอบเขตการด่างที่เห็นได้ชัดเจน Http : // www.idealibrary.com
พบ Inclusion ของ CMV ใน cell ที่ติดเชื้อ Cytopathology พบ Inclusion ของ CMV ใน cell ที่ติดเชื้อ stomata cells ของ Commelina diffusa
Inclusion CMV inclusion ใน epidermis cell ของ Capsicum annum http : // www.elsevier.com/virus
การถ่ายทอดเชื้อ CMV ลักษณะการถ่ายทอด มีเพลี้ยอ่อนเป็นแมลงพาหะและกลไกการถ่ายทอดประเภท non - persistent ลักษณะการถ่ายทอด เพลี้ยอ่อนจะเกาะบนใบพืชที่ติดเชื้อCMV ใช้ stylet ทิ่มแทงลงไปในใบพืชแล้วถอนออก โดยปกติจะใช้เวลาน้อยกว่า 30 วินาที เพื่อชิมพืชที่ติดเชื้อจะทำให้ไวรัสติดไปกับปลาย stylet เมื่อเพลี้ยอ่อนดูดกินพืชต้นใหม่ทำให้พืชได้รับการถ่ายทอดไวรัส
Myzus persicae แมลงพาหะเชื้อ CMV (http : // www.idealibrary.com )
การถ่ายทอดของCMVผ่านทางเมล็ด
ความสำคัญทางเศรษฐกิจ ของ CMV ในปี ค.ศ. 1987 พบการระบาดของ CMV ในประเทศอิตาลี และ สเปน โดย CMV จะเข้าไปทำลายมะเขือเทศทำให้ปริมาณการผลิตมะเขือเทศเพื่อการส่งออกลดลงถึง 30 % ของปริมาณการผลิตเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้านี้
ในปี ค.ศ. 1995 -1997 พบการระบาดของ CMV ในMediterranean ซึ่งลักษณะการที่ CMV เข้าทำลายในพืชอาศัยชนิดเดียวกับในประเทศ อิตาลี และ สเปน ในปัจจุบันพบว่า CMV ได้มีการแพร่ระบาด ไปอย่างกว้างขวาง ซึ่งได้แก่ประเทศ จีน กรีก สเปน อิตาลี ฯลฯ
การควบคุมและป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อCMV ไม่ควรปลูกพืชที่ง่ายต่อการเกิดโรคไว้ในที่บริเวณใกล้กัน กำจัดวัชพืชในแปลงและบริเวณรอบๆ เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งอาศัยของ CMV และ แมลงพาหะ เมื่อพบต้นไม้ที่เป็นโรค ควรรีบถอนรำไปเผาทำลาย การคลุมแปลงด้วยพลาสติกสะท้อนแสง สีบรอนซ์ จะช่วยลดการเข้าทำลายของแมลง ได้ระดับหนึ่ง ใช้เมล็ดพันธุ์ปลอดเชื้อ CMV
เอกสารอ้างอิง Davis, R.,BrownJ. F., and Pone, S.P.1996 . Causal relationship between cucumber mosaic cucumovirus and kava dieback in the South Pacific .Plant Disease Vol 80 : 194 -198 Daniels, J., and Campbell, R.N. 1992. Characterization of Cucumber mosaic virus isolates from California. Plant Disease. Vol 76 : 1245 -1250