- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สีของผ้าที่ทำให้เหงื่อตกได้
Advertisements

พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
(Classroom Action Research)
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn.
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
การศึกษาชีววิทยา.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
การวางแผนและการดำเนินงาน
แนะนำวิทยากร.
อุณหภูมิและอุณหภูมิจุดน้ำค้าง
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การจัดกระทำข้อมูล.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การเสนอโครงการวิจัย.
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
การเขียนรายงานการวิจัย
เหตุการณ์จำลองกรณีเกิดแผ่นดินไหว
การเขียนรายงานการวิจัย
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
กระบวนการวิจัย Process of Research
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
Deep Low & Tropical Storm. Deep Low & Tropical Storm ( ต่อ )
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
มหัศจรรย์ ... กระดาษแสนกล
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
แผ่นดินไหว (Earthqua ke) ขนาด ( ริกเตอร์ ) ความ รุนแรง ( เมร์กัลลี่ ) น้อยกว่า 3.0 I - II ประชาชนไม่รู้สึก ใช้ชีวิตตามปกติ ตรวจวัดได้เฉพาะ เครื่องมือ.
คำอธิบายรายวิชา.
วิธีการคิดวิเคราะห์.
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จิตวิทยาการเรียนการสอน และการแนะแนว
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
งานก่อสร้างฯ / ซ่อมแซมฯ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis STUDENT INQUIRY - Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis

I จากกราฟจะแปลความหมายข้อมูลอย่างไรได้บ้าง กราฟแสดง อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิดิน ความชื้นของดิน ฤดูใบไม้ร่วง (ก.ย. - ต.ค. - พ.ย. - ธ.ค) 9 10 11 12 ดินลึก - 5 cm - 10 cm I จากกราฟจะแปลความหมายข้อมูลอย่างไรได้บ้าง

I จากกราฟจะแปลความหมายข้อมูลอย่างไรได้บ้าง สิ่งที่สังเกตได้จากกราฟ รูปแบบ (Patterns) - อุณหภูมิดินและอุณหภูมิอากาศมีรูปแบบคล้ายกัน - อุณหภูมิดินไม่แปรผันเท่าอุณหภูมิอากาศ - ความชื้นของดินที่ระดับลึก 5 cm จะแปรผันมากกว่าที่ระดับลึก 10 cm

II อุณหภูมิดินใกล้เคียงกับอุณหภูมิอากาศตลอดเวลาหรือไม่ - บางเวลา III ความชื้นของดินมีผลต่อการที่อุณหภูมิดินและใกล้เคียงหรือห่างไกลจากอุณหภูมิอากาศหรือไม่ - อุณหภูมิดินแห้งจะใกล้เคียงกับอุณหภูมิอากาศมากกว่าดินเปียก (น้ำในดินเปียกทำให้อุณหภูมิดินเปียกเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิอากาศได้ช้ากว่าดินแห้ง)

IV จากการวิเคราะห์ข้อมูลข้างต้น จะตั้งคำถามที่นำไปสู่การวิจัย (RESEARCH QUESTION) - อุณหภูมิดินแห้งและอุณหภูมิดินเปียกมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิอากาศต่างกันอย่างไร V จากคำถามข้างต้นจะตั้งสมมติฐานได้ว่าอย่างไร - อุณหภูมิดินแห้งจะใกล้เคียงกับอุณหภูมิอากาศมากกว่าดินเปียก

VI จากสมมติฐานข้างต้นจะเขียนใหม่ให้ชัดเจน โดยระบุนิยามเชิงปฏิบัติการไว้ด้วย ได้อย่างไร - อุณหภูมิดิน ที่มีความชื้นต่ำกว่าค่าเฉลี่ย จะใกล้เคียงกับอุณหภูมิอากาศมากกว่าดิน ที่มีความชื้นสูงกว่าค่าเฉลี่ย VII จากสมมติฐานข้างต้นจะมีวิธีการทดสอบว่าเป็นจริงหรือไม่ได้อย่างไร 1. หาโรงเรียนใดโรงเรียนหนึ่งหรือหลายโรงเรียนที่เก็บข้อมูลอุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิดิน และความชื้นของดินที่ความลึกเดียวกัน

2. สร้างตารางข้อมูล อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิดิน และความชื้นของดินที่ความลึกเดียวกัน 3. คำนวณหาค่าเฉลี่ยของความชื้นของดินที่ระดับลึก 5 cm 4. จัดความชื้นของดินออกเป็นดินแห้ง (ถ้าดินมีค่าความชื้นต่ำกว่าค่าเฉลี่ย) และดินเปียก (ถ้าดินมีค่าความชื้นสูงกว่าค่าเฉลี่ย) 5. คำนวณความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิที่ระดับลึก 5cm และอุณหภูมิอากาศ 6. หาค่าเฉลี่ยของความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิดินระดับลึก 5 cm และอุณหภูมิอากาศ 7. ทำข้อ 3-6 ซ้ำ สำหรับดินที่ระดับความลึก 10 cm

VIII จากตารางข้อมูลข้างต้นจะแปลความหมายข้อมูลและให้ข้อสรุปได้อย่างไร ที่ระดับลึก 5cm ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิดินแห้งและอุณหภูมิอากาศ จะน้อยกว่าความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิดินเปียกและอุณหภูมิอากาศอยู่ 1.3 องศา (อุณหภูมิดินแห้งใกล้เคียงอุณหภูมิอากาศมากกว่าดินเปียก) ที่ระดับลึก 5cm ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิดินแห้งและอุณหภูมิอากาศ จะน้อยกว่าความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิดินเปียกและอุณหภูมิอากาศอยู่ 0.4 องศา (อุณหภูมิดินแห้งใกล้เคียงอุณหภูมิอากาศมากกว่าดินเปียก) สรุป - ข้อมูลที่ได้จึงสนับสนุนสมมติฐานที่ว่าอุณหภูมิแห้งจะใกล้เคียงอุณหภูมิอากาศมากว่าดินเปียก

XI จากคำถามวิจัยข้างต้น จะตั้งสมมติฐานได้ว่าอย่างไร - บินแห้งจะมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้มากกว่าดินเปียก XII ในการที่จะหาวิธีการทดสอบสมมติฐานข้างต้น จะต้องคำนึงถึงตัวแปรที่จะต้องควบคุมอะไรบ้าง - เนื้อดิน - สภาพทางภูมิศาสตร์ - สิ่งปกคลุมดิน - ฯลฯ

X จากข้อสรุปและหลักการข้างต้น จะนำไปสู่คำถามวิจัยได้ว่าอย่างไร IX จะอภิปรายข้อมูลสรุปข้างต้น ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างไร (ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น) - การที่อุณภูมิดินแห้งใกล้เคียงกับอุณหภูมิอากาศมากกว่าดินเปียก เพราะดินแห้งกักอากาศไว้ได้มากกว่าดินเปียก X จากข้อสรุปและหลักการข้างต้น จะนำไปสู่คำถามวิจัยได้ว่าอย่างไร - ดินแห้งจะมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้มากกว่าดินเปียกหรือไม่