การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
การศึกษารายกรณี.
 การสอนแบบอภิปราย.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การประเมินผลแผนงานสื่อสาร
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
มาตรฐานวิชาชีพครู.
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การจูงใจ (Motivation)
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวิเคราะห์ผู้เรียน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวัดผล (Measurement)
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
มาตรฐานการควบคุมภายใน
( Human Relationships )
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
ADDIE Model.
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ระบบการ ดำเนินการใน โรงเรียน 1. ระบบบริหารจัดการ 2. ระบบการเรียนการสอน 3. ระบบการวัดผลประเมินผล 4. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. ระบบงานกิจกรรมนักเรียน.
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การใช้ผลการสอบขับเคลื่อนการ จัดการเรียนการสอน 1. วิเคราะห์ผลการทดสอบ ระดับชาติ (NT, O-NET) H 1 คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ S.D. น้อยกว่าระดับประเทศ H.
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
ประเภทของพฤติกรรม 1.เกณฑ์ “สังเกต” พฤติกรรมภายนอก (OVERT BEHAVIOR)
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นทีม หมายถึง กลุ่มคนที่ต้องมาทำงานร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกันและเป็นการรวมตัวกัน โดยอาศัยความรู้ ความเข้าใจ ความผูกพัน.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์

พฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain) เป็นพฤติกรรมของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการปฏิบัติหรือการทำกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งเป็นการประสานการทำงานของสมองหรือสติปัญญาและกล้ามเนื้อ

การวัดพฤติกรรม ด้านทักษะพิสัย เป็นการวัดที่ให้ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมการปฏิบัติให้ดู โดยใช้ความสามารถทางสมองหรือทางกายหรือทั้งสองอย่างก็ได้ เพื่อให้ผู้สอนได้ตัดสินระดับความสามารถในการปฏิบัติของผู้เรียนว่า มีความถูกต้องในกระบวนการปฏิบัติหรือไม่

การวัดพฤติกรรม ด้านทักษะพิสัย ผลงานที่ได้จากการปฏิบัติมีคุณภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งการวัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยที่สมบูรณ์นั้น ไม่เพียงแต่วัดกระบวนการและผลงานงานเท่านั้น แต่รวมไปถึงการวัดพฤติกรรม การปฏิบัติของผู้เรียนด้วย ซึ่งหมายถึงพฤติกรรมด้านจิตพิสัยนั่นเอง ดังแผนภาพข้างล่าง การวัด ด้านทักษะพิสัย พุทธิพิสัย จิตพิสัย

ธรรมชาติของการวัดทักษะพิสัย เป็นการวัดโดยใช้สถานการณ์เพื่อทดสอบการปฏิบัติงานของผู้เรียน ลักษณะงานที่ให้ทำแตกต่างกัน วิธีการวัดย่อมแตกต่างกัน เป็นการวัดกระบวนการในการปฏิบัติงาน (Process) และผลผลิต (Product) การบริหารการสอบ ผู้สอนต้องมีโอกาสสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนอย่างใกล้ชิด

จุดมุ่งหมายของการวัดทักษะพิสัย เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาทางทฤษฎี เพื่อตรวจสอบหรือประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน เพื่อประเมินผลผลิตหรือผลงานที่เกิดจากกระบวนการปฏิบัติ เพื่อประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติที่ผู้เรียนแสดงออกในขณะปฏิบัติงาน

คุณลักษณะที่ใช้วัดกระบวนการ คุณภาพในขณะปฏิบัติงาน เวลา ทักษะการปรับปรุงการทำงาน ความปลอดภัยในการทำงาน ข้อบกพร่องจากการปฏิบัติ

คุณลักษณะที่ใช้วัดผลงาน คุณภาพของผลงาน ปริมาณงาน ทักษะการปรับปรุงผลงาน ความปลอดภัยของผลงาน ข้อบกพร่องจากการปฏิบัติ

คุณลักษณะที่ใช้วัดพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ตั้งใจทำงาน กระตือรือร้นในการทำงาน ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ร่วมมือแก้ปัญหาการทำงานในกลุ่ม ฯลฯ

กระบวนการวัดพฤติกรรม ด้านทักษะพิสัย กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กำหนดงานให้ผู้เรียนปฏิบัติ กำหนดเงื่อนไขหรือสถานการณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน วิเคราะห์งานเพื่อกำหนดคุณลักษณะที่ใช้ในการวัดทักษะ กำหนดวิธีการวัดและเครื่องมือที่ใช้ในการวัด กำหนดวิธีการประเมินผลและรายงานผล สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวัด ดำเนินการวัดผลและประเมินผล

วิธีการที่ใช้ในการวัด ด้านทักษะพิสัย การสังเกต การจัดอันดับคุณภาพ การทดสอบ การให้ผู้เรียนรายงานตนเอง การสัมภาษณ์

การสร้างเครื่องมือวัดพฤติกรรม ทักษะพิสัย วางแผนการสร้างเครื่องมือ การดำเนินการสร้างเครื่องมือ ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ สร้างคู่มือการใช้

การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดด้านทักษะพิสัย ความตรง ความตรงเชิงเนื้อหา ความตรงตามสภาพ ความตรงเชิงทฤษฎี ความเที่ยง ความเที่ยงระหว่างผู้ประเมิน ความเที่ยงแบบการวัดซ้ำ