โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

เศรษฐกิจ พอเพียง.
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
Thailand fruit paradise
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
มุ่งการมองล่วงหน้า - ดักปัญหา การลดการใช้ขยะของชุมชน การเยี่ยมบ้านเด็กของครู-อสม. การส่งเสริมและป้องกันโรค การวิจัยความต้องการประชาชน การรับฟัง-ตอบปัญหาประชาชน.
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
1 ยุทธศาสตร์การสนับสนุน การวิจัยของ สกว. ปี วุฒิพงศ์ เตชะดำรงสิน รองผู้อำนวยการ สกว. jscom/ ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
OSM ประชาชนในกลุ่มจังหวัดได้รับประโยชน์สูงสุด
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
การปฏิบัติที่สำคัญซึ่งสัมพันธ์กับความมั่นคง (ด้านเศรษฐกิจ)
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
งานวิจัยด้านการเกษตรอินทรีย์
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
การประชุมชี้แจง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้ เพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำ และสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ
การสร้างสมดุลของอาหารและพลังงาน
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
วิสัยทัศน์ทางการค้า ศูนย์กลางการค้า การลงทุน การท่องเที่ยวครบวงจร.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555 ภายใต้โครงการบูรณาการแผนปฏิบัติการพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ “คน” เป็นศูนย์กลางการพัฒนา เกษตร – อาหาร - สุขภาพ - สิ่งแวดล้อม

ศูนย์ปศุสัตว์อินทรีย์ เป้าหมายหลัก เพื่อพัฒนายกระดับการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรรายย่อย ให้มีคุณภาพ มีมาตรฐานปศุสัตว์อินทรีย์ เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค ระดับครัวเรือน ลดรายจ่ายซื้ออาหาร ลดต้นทุนปุ๋ย เพิ่มรายได้ มีอาชีพมั่นคง อาหารคุณภาพ ผลิตได้เอง ระดับชุมชน เศรษฐกิจหมุนเวียนในชุมชน สังคมเกื้อกูล ชุมชนเข้มแข็ง อาหารคุณภาพ ระดับประเทศ ลดการสูญเสียเงินตราซื้อเคมีการเกษตร ฟื้นฟูดิน น้ำ สิ่งแวดล้อม ประชาชนบริโภคอาหารคุณภาพ ศูนย์ปศุสัตว์อินทรีย์

ระบบเศรษฐกิจอาหารท้องถิ่น Local food economy การผลิตและการบริโภคขนาดเล็ก ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นเกื้อกูลกัน การลดการใช้พลังงานในขนส่ง การพึ่งพาตนเองในการผลิต/บริโภค เป็นความมั่นคงทางอาหาร Shifting economic activity into the hands of small and medium size businesses instead of concentrating it in fewer mega corporation Shortening the distance between producers and consumers where ever possible. เปลี่ยนจาก global food to local food เขยื้อนอย่างมากต่อความเป็นอยู่ที่ดีของเกษตรกรรายย่อย 04/04/60

พื้นที่ดำเนินการและแนวทางการพัฒนา พัฒนาต่อยอดกลุ่มอย่างต่อเนื่องจากปี 2554 เป้าหมาย 64 จังหวัด 350 กลุ่ม 8000 ราย พัฒนายกระดับ บันใด 4 ขั้น

1.เสริมสร้างความรู้นวัตกรรม 1.เกษตรกรนำ ความรู้ไปพัฒนา ประกอบอาชีพ inputs Processes outputs outcomes 1.เสริมสร้างความรู้นวัตกรรม -หลักสูตรผู้ตรวจประเมิน -หลักสูตรที่ปรึกษาและผู้นำเกษตรกร -หลักสูตรเชื่อมโยงเครือข่ายภูมิภาค -ศูนย์สาธิตปศุสัตว์อินทรีย์ -โครงการจัดการความรู้ตามภูมิสังคม -โครงการประชาสัมพันธ์ 2.พัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์วิถีพื้นบ้าน -สนับสนุนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง -เชื่อมโยงการผลิตและการตลาด 3.เสริมสร้างปศุสัตว์อินทรีย์เชิงพาณิชย์ -พัฒนาระบบตรวจรับรอง และมาตรฐาน 1.เกษตรกรนำ ความรู้ไปพัฒนา ประกอบอาชีพ 350/8000 ก/ราย 1.เกษตรกร -สร้างโอกาสทางอาชีพ -ลดต้นทุน เพิ่มรายได้ -มีความมั่นคงทางอาหาร -บุคลากร 352 คน -งบ 12 ล้าน 2.ประชาชน -ได้บริโภคอาหารคุณภาพ -สนับสนุนเกษตรกรรายย่อย 2. สินค้าปศุสัตว์ มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน เนื้อ 3,550 ตัน นม 1,800 ตัน ไข่ 7 ล้านฟอง 3. สังคม -มีการกระจายรายได้ อย่างเป็นธรรม 4. สิ่งแวดล้อมยั่งยืน ลดมลพิษ ลดโลกร้อน สังคมคาร์บอนต่ำ

เราทุกคน มีส่วนร่วมสร้าง รักษาเอกลักษณ์ไทย ทำไมต้องส่งเสริมการผลิตและการบริโภคเกษตรอินทรีย์ เราทุกคน มีส่วนร่วมสร้าง รักษาเอกลักษณ์ไทย ประชาชน 1.ได้อาหารคุณภาพ ดีต่อ สุขภาพ ไม่เสี่ยงต่อมะเร็ง 2.สนับสนุนอาชีพเกษตรกรรายย่อย 3. มีส่วนช่วยรักษาสภาพแวดล้อม สวัสดิภาพสัตว์ เกษตรกร สร้างโอกาสในอาชีพ ทำได้ ขายได้ ครอบครัวอบอุ่น มีงานทำ มีอาหารบริโภคที่ผลิตได้เอง สังคม กระจายรายได้อย่างเป็นธรรม รักษาวัฒนธรรม การผลิตและการบริโภคท้องถิ่น มีแบ่ง มีปัน เรียนรู้เกื้อกูลกัน สิ่งแวดล้อม 1.รักษาความหลากหลายทางชีวภาพพืช สัตว์พื้นเมือง 2.ฟื้นฟูดิน แหล่งน้ำจากสารเคมี สารพิษการเกษตร 3. เกิดวิว ทิวทัศน์ ธรรมชาติ ที่สวยงาม 04/04/60