สมัยนาระ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิธีบูชาขอบพระคุณ.
Advertisements

กลุ่มคนในสังคมสุโขทัย
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา กิจกรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
เทศกาลลอยกระทง ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี หรืออยู่ในราวเดือนพฤศจิกายนค่ะ ถือว่าเป็นประเพณีเก่าแก่ของไทยที่มีตั้งแต่ครั้งสมัยสุโขทัยเชียวนะคะ.
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
โครงการทำบุญเข้าวัดด้วยการแต่งชุดผ้าไทย
ศาสนาชินโต (ชินเต๋า) กามิ มิชิ
จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ น้อยเจริญ
พระพุทธศาสนาในฟูหนำ ( พศต )
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
วัฒนธรรมในอาเซียน (ประเทศกัมพูชา)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ กับความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตายของชาวอียิปต์
รายงาน เรื่อง การปฏิวัติการค้าสมัยยุโรป เสนอ คุณครู อรวรรณ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน สำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาขอนแก่นเขต 25.
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
อธิบายสัจธรรมสูงสุด สัจธรรมสูงสุดในพุทธศาสนา คือ ธรรม ความหมายของ ธรรม ดังที่ปรากฏในหลักธรรม เรื่อง นิยาม 5 และธรรม ก็คือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน สิ่งเคารพสูงสุด.
สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร
จิตรกรรม จิตรกรรมสมัยสุโขทัย ส่วนใหญ่เล่าเรื่องทางศาสนาเป็นลักษณะการเขียนภาพแบบอุดมคติ เช่น ภาพอดีตพุทธเจ้า ประทับยืนเรียงรายเป็นแถว แต่ละองค์คั่นสลับด้วยภาพบุคคลชั้นสูงประทับอัญชลี
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
มานุษยวิทยาศึกษาคืออะไร
ความหมายของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
History มหาจุฬาฯ.
ธงชาติอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.ชนกนันท์ เนาวะบุตร ด.ญ.อารีรัตน์ อ่อนสี
ระบบความเชื่อ.
ศาสนา.
สมัยโชมอน.
สมัยโคะฟุน.
การนับถือศาสนาในราชอาณาจักรกัมพูชา

วันลอยกระทง โดย ด.ญธัญผกา อุตสานนท์ ด.ญ.ธารารัตน์ ทั่งดี
The designs inspired by Phra Maha Chedi of King Rama I-IV at Wat Phra Chetuphon Vimolmangklararm Rajwaramahaviharn Mr. Taechit Cheuypoung.
พระพุทธรูปประจำ ๙ รัชกาล
ศาสนา QUIZ เข้าสู่คำถาม.
เรื่องประวัติตรุษจีน
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
Law and Modern World ภาคการศึกษา 2/2556.
วันอาสาฬหบูชา.
นครแห่งศิลปะ และ ดนตรี
นายกษิดิ์เดช วันโทน เสนอ เรื่อง วันสำคัญในพระพุทธศาสนา วิชา
ศาสนพิธี สำหรับชาวพุทธ.
วัดมโนภิรมย์ จังหวัด มุกดาหาร.
คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิดของพระเยซูเจเราเฉลิมฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม คำว่า คริสต์มาส เป็นคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas ซึ่งมาจากภาษาอังกฤษโบราณว่าChristes.
ศาสนาขงจื๊อ ศาสนาขงจื้อเกิดในสมัยราชวงศ์โจว ศาสนานี้ตั้งชื่อตามศาสดาว่า “ขงจื้อ” แต่เดิมศาสนานี้มิได้จัดเป็นศาสนา ต่อมาเมื่อคำสอนเผยแพร่ไปทั่ว ผู้คนต่างพากันยกย่องสรรเสริญจนกลายเป็นศาสนา.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ สอนโดย...ครูธีระพล เข่งวา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
ข. ประเภทตำนาน-พงศาวดารท้องถิ่น
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิด ของพระเยซูเจเราเฉลิม ฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม คำว่า คริสต์มาส เป็นคำทับ ศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas.
จัดทำโดย นายธีรภัทร บัวเนียม เสนอต่อ อาจาร์ยสมคิด มีมะจำ
พระพุทธศาสนาสมัยสุโขทัย
2. พระพุทธ ศาสนาเถรวาทสายพุกาม เข้ามา ในช่วง พ. ศ. ๑๖๐๐ สายนี้เข้ามาสู่ไทยด้วย อิทธิพลของพระเจ้าอนุรุธมหาราช ผู้ได้ อำนาจในพม่าและตั้งเมืองหลวงขึ้นที่เมือง.
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ครูธีระพล เข่งวา 1 ครูผู้สอน …… นายธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
หน้าหลัก สมาชิก ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีของภาคกลาง
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
พระสงฆ์กับการเมืองไทยในปัจจุบัน
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ไทย ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ใน ความต่อเนื่อง ของเวลาได้ 2.
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมัยนาระ

สมัยนาระ สมัยนาระแบ่งออกเป็น สมัยนาระตอนต้น ( ฮะกุโฮ) สมัยนาระตอนปลาย ( เทมเปียว )

สมัยนาระตอนต้น ( ฮะกุโฮ ) มีเหตุการณ์สำคัญๆ คือ : การติดต่อกับจีนโดยตรง วัฒนธรรมจากจีนหลั่งไหลเข้ามา : การปฏิรูปทาอิกะ ค.ศ.645 เพื่อลดอำนาจตระกูลต่างๆ ดึงอำนาจคืนองค์จักรพรรดิ จัดระบบการปกครองตามแบบจีนสมัยราชวงศ์ถัง : พุทธศาสนาได้รับการอุปถัมภ์จากราชสำนัก การเผยแพร่พุทธศาสนาและพระสูตรไปตามหัวเมือง : ผลกระทบที่มีต่อขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมของชาวพื้นเมือง เช่นการยกเลิกประเพณีฝังศพและใส่เครื่องประดับลงในสุสานเนินดิน หันมารับประเพณีเผาศพ สร้างวัตถุบูชา และการก่อสร้างสาธารณูปโภคเพื่อเป็นการทำบุญทำกุศล

: มีนิกายทางพุทธศาสนาแพร่เข้ามา 6 นิกาย คือ นิกายโจจิสึ (สันสกฤตเรียก สัตยาสิทธิ) นิกายตรีศาสตร์ (ค.ศ.625) นิกายฮอสโซ (โยคาจารย์ ค.ศ. 654) นิกายอภิธรรมโกศ (ค.ศ.658) ส่วนนิกายวินัย (ค.ศ.753) และนิกายเคงอนหรืออวตมสก (ค.ศ.736) เข้ามาในสมัยนาระตอนปลาย ทั้งหกนิกายกำหนดขอบเขตอยู่ในกลุ่มภิกษุสงฆ์ และปัญญาชนเท่านั้น มีนิกายเคงอนที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อถือ และต่อศิลปะญี่ปุ่น : พุทธศิลปะ งานพุทธประติมากรรมยังเป็นผลงานที่โดดเด่น ภายใต้แรงบัลดาลใจจากราชวงศ์ฉีเหนือ สุย และถังตอนต้น ยกตัวอย่าง พระพุทธเจ้าอมิตาภะ พระพุทธเจ้าไภษัชยคุรุและสาวก ท้าวจัตุโลกบาล : จิตรกรรมแบ่งออกเป็น จิตรกรรมทา.โลก และพุทะจิตรกรรม ตัวอย่าง ภาพเจ้าชายโชโตกุ และสวรรค์พระพุทธเจ้าอมิตาภะ : สถาปัตยกรรมทางศาสนา แผนผังวัดโฮริว

สมัยนาระตอนปลาย ( เทมเปียว ) เหตุการณ์ที่สำคัญคือ : มีการย้ายเมืองหลวง : พุทธศาสนาเข้ามามีบทบาทมาก จักรพรรดิองค์สำคัญที่มีส่วนในการส่งเสริมพุทธศาสนา คือ จักรพรรดิโชมุ ทรงสานต่อโครงการสำคัญๆทางพุทธศาสนา --- การออกพระราชกำหนดต่างๆ --- โครงการสร้างวัดโคคุบุนจิ และโคคุบุนนิจิ --- สร้างวัด --- คัดลอกพระสูตร : พุทธประติมากรรมยังเป็นงานศิลปะที่สำคัญ และก้าวเข้าสู่ยุคทองในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 – ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 ตัวอย่าง ประติมากรรมทำด้วยดินเหนียว รักแห้ง ( อสูร อโมฆปศอวโลกิเตศวร และสาวก วัชรปาณี ท้าวจตุโลกบาล มหาไวโรจนะที่วัดโตได และความสำคัญ )

: ประติมากรรมภาพเหมือน : พุทธจิตรกรรม ศรีมหาเทวี ( คิชิโจเตน ) : จิตรกรรมทางโลก ภาพเขียนบนพิณบิวะ : สถาปัตยกรรม แผนผังวัดโตไดและความสำคัญ และหอศิลป์โชโส ศาลเจ้าอิเซ แห่งลัทธิชินโต และประตูโทริอิ : ประณีตศิลป์ - หน้ากากจิกากุ - พิณห้าสาย - เครื่องถ้วยสามสี - เครื่องโลหะ จากตะวันตก

สรุป พุทธศาสนาสมัยนาระได้พัฒนาจากการเป็นศาสนาที่นับถือแพร่หลายในหมู่ชนชั้นสูงกลุ่มเล็ก มาเป็นศาสนาแห่งรัฐ ที่ควบคุมกลไกและสนับสนุนโดยรัฐบาลกลาง แต่ทว่าผลประโยชน์ที่ได้รับก็ยังเป็นของชนชั้นสูงอยู่นั่นเอง จุดมุ่งหมายสำคัญของพระพุทธศาสนาในสมัยนาระก็เพื่อมุ่งหวังผลตอบแทนที่ได้รับในโลกนี้ และผู้คนจะได้รับผลประโยชน์นี้ได้ ต้องทำบุญทำกุศลด้วยการให้การสนับสนุนพระภิกษุ สร้างรูปเคารพหรือวัตถุบูชา สร้างวัด คัดลอกพระสูตร เป็นต้น และเมื่อคติธรรมนี้แพร่สู่สามัญชน งานก่อสร้างสาธารณสถานต่างๆก็ถือว่าเป็นบุญเป็นกุศลทั้งสิ้น ผลตอบแทนที่จะได้รับก็อาจเป็นสิ่งที่อธิษฐานเอาไว้ เช่น หายเจ็บป่วยจากเคราะห์กรรม การทำบุญกุศลที่ยิ่งใหญ่สมัยนาระคือ การร่วมแรงร่วมใจกันสร้างพระประธานที่วัดโตได การสร้างโครงการวัดประจำหัวเมือง เป็นต้น ผลแห่งการทำบุญกุศลเหล่านี้ก็กลายเป็นงานศิลปะ ที่ยิ่งใหญ่ ในสมัยนาระที่หลงเหลือให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา