การประเมินผลการปฏิบัติงาน ( Performance Appraisal )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Advertisements

หน้าที่ของผู้บริหาร.
ความหมายของการวางแผน
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
Lesson 10 Controlling.
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
พัฒนาบุคลากร (Human Resources Development)
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
The General Systems Theory
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
การสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
บทที่ 3 Planning.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
การวัดผล (Measurement)
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Planning)
ADDIE Model.
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
Change Management.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผลการปฏิบัติงาน ( Performance Appraisal )

การประเมินผลการปฏิบัติงาน หมายถึง กิจกรรมทางด้านการบริหารที่เป็นระบบ ในการที่พยายามจะตีค่าความสามารถ และการมีส่วนร่วมในงานหรือผลงานบุคคลในตำแหน่งนั้นๆ หรือเป็นการหาผลประโยชน์หรือตีราคาผลงานของผู้ปฏิบัติงาน ของบุคคลผู้ปฏิบัติงานในด้านต่างๆ performance appraisal

ความสำคัญของการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1) ความสำคัญต่อพนักงาน 2) ความสำคัญต่อผู้บังคับบัญชา 3) ความสำคัญต่อองค์การ performance appraisal

การประเมินผลปฏิบัติงาน (ดำเนินการตามกระบวนการประเมินการปฏิบัติงาน) ความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินผลการปฏิบัติงานกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้านอื่น การคัดเลือก และบรรจุ - การขึ้นเงินเดือน - การเลื่อนตำแหน่ง - การโยกย้าย - การลดตำแหน่ง - การให้ออก - การแก้ไขด้วยวิธีอื่นๆ การปฏิบัติงาน ของพนักงาน การประเมินผลปฏิบัติงาน (ดำเนินการตามกระบวนการประเมินการปฏิบัติงาน) performance appraisal

ประโยชน์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1.การปฏิบัติงานของพนักงาน 2.การพัฒนาพนักงาน 3.ความเข้าใจการบังคับบัญชา 4. การนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงงาน 5. การปฏิบัติในเรื่องค่าจ้างเงินเดือน 6. การทำให้แผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ถูกต้อง performance appraisal

ข้อพิจารณาพื้นฐานในการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2. ปัจจัยที่ควรจะทำการประเมิน 3. การปฏิบัติงานและศักยภาพ 4. ใครเป็นผู้ที่ทำการประเมิน 5. ใครที่จะต้องถูกประเมิน 6. ระยะเวลาที่ควรจะประเมินผลการปฏิบัติงาน performance appraisal

กระบวนการประเมินการปฏิบัติงาน สภาพแวดล้อมภายนอก สภาพแวดล้อมภายใน ระบุวัตถุประสงค์ กำหนดความคาดหวังจากการปฏิบัติงาน ตรวจสอบและเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ประเมินการปฏิบัติงาน นำผลการประเมินการปฏิบัติมาถกเถียงร่วมกับพนักงาน performance appraisal

กระบวนการออกแบบระบบการประเมิน 1.ให้บุคคลที่เหมาะสมเข้ามาเกี่ยวข้อง 2.มองการประเมินฯว่าเป็นส่วนหนึ่งของระบบที่ซับซ้อน 3.เรียนรู้จากการนำไปใช้ให้เกิดผล 4.คงความยืดหยุ่นไว้ 5.อดทน performance appraisal

กระบวนการออกแบบที่เป็นจริง 1.คัดเลือกบุคคลที่เหมาะสม 2.ตัดสินใจเรื่องกระบวนการ 3.ประเมินสถานการณ์ปัจจุบันภายในองค์การ 4.กำหนดความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของระบบ 5.ออกแบบระบบการประเมินฯ 6.ทดลองนำไปใช้ 7.ประเมินและตรวจสอบระบบ performance appraisal

วิธีการประเมินการปฏิบัติงาน เกณฑ์การเลือกวิธีการประเมินฯ 1. การพัฒนาพนักงาน 2. ความสะดวกในการนำไปใช้ 3. การประหยัดค่าใช้จ่าย 4.ความเที่ยงตรง performance appraisal

เทคนิควิธีการประเมิน ( Appraisal Methods)  วิธียึดคุณลักษณะบุคคลเป็นหลัก  วิธียึดพฤติกรรมการปฏิบัติงานเป็นหลัก  วิธียึดผลสำเร็จหรือวัตถุประสงค์เป็นหลัก  วิธีผสมผสาน performance appraisal

เทคนิควิธีการประเมิน ( Appraisal Methods) 1. วิธีการที่ยึดคุณลักษณะบุคคลเป็นหลัก  Graphic Rating Scale  Checklists Method  Employee Comparison System  Grading  Point Rating performance appraisal

เทคนิควิธีการประเมิน ( Appraisal Methods) 2. วิธีการที่ยึดพฤติกรรมการปฏิบัติงานเป็นหลัก  Critical Incidents  Free Form Essay  Multiple Appraisal  Peer Rating performance appraisal

เทคนิควิธีการประเมิน ( Appraisal Methods) 3. วิธีการที่เน้นผลลัพธ์  Standards of Performance  Appraisal by Result performance appraisal

เทคนิควิธีการประเมิน ( Appraisal Methods) 4. วิธีการแบบผสมผสาน  Management by Objective  วิธีการประเมินแบบ 360 องศา  Key Performance Indicators performance appraisal

ปัญหาในการประเมินการปฏิบัติงาน 1. ขาดความเป็นรูปธรรม 2. Halo Error 3. การประเมินแบบผ่อนปรน/แบบเข้มงวด 4. แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 5. Bias 6. บทบาทผู้ตัดสินของการประเมิน performance appraisal

performance appraisal ให้ทำ กำหนดวัตถุประสงค์เป้าหมายของการประเมิน ระบุผู้ที่จะถูกประเมิน สร้างแบบประเมินแบบ Checklists Method อย่างน้อย 10 รายการ performance appraisal