( Organization Behaviors )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
Advertisements

หน้าที่ของผู้บริหาร.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
บทบาทผู้นำสหกรณ์ยุคใหม่ ผู้อำนวยการสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา
The Power of Communication
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การบริหารกลุ่มและทีม
การปลูกพืชผักสวนครัว
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behavior )
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
( Organization Behaviors )
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การบริหารความขัดแย้ง
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
บทที่ 2 กระบวนการทางจิตวิทยาของผู้ใช้
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
บทบาทของชุมชนต่อโรงเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
ระบบความเชื่อ.
กลุ่มในองค์การ Group in Organization
การจูงใจ (Motivation)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
(Organizational Behaviors)
(Individual and Organizational)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การปลูกพืชผักสวนครัว
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
บทที่ 3 การสื่อสารการตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
หลักการเขียนโครงการ.
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
Change Management.
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
การทัศนศึกษา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

( Organization Behaviors ) 7610205 องค์การและการจัดการ พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behaviors )

ความหมาย พฤติกรรมองค์การ หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ ทัศนคติ และผลการปฏิบัติงาน ภายในองค์การ ซึ่งถูกสร้างขึ้นจากการรวบรวมทฤษฎี และหลักการจากสาขาต่าง ๆ ได้แก่ จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยาและวัฒนธรรม เพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการรับรู้ ค่านิยม ความสามารถในการเรียนรู้ และการกระทำของบุคคลขณะที่ปฏิบัติงานร่วมกับกลุ่มภายในองค์การ ตลอดจนการวิเคราะห์อิทธิพลของสภาพแวดล้อมภายนอก ที่มีต่อทรัพยากรมนุษย์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ขององค์การ

ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับคน 1. องค์การและบุคคล 2. องค์การและกลุ่มบุคคล

ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและบุคคล 1. การรับรู้ ( perception ) การรับรู้ หมายถึง การที่บุคคลได้รับรู้ ตีความ และตอบสนองต่อสิ่งที่เกิดขึ้น ความสำคัญของการรับรู้ คือช่วยให้เข้าใจบุคคลที่อาจจะรับรู้เหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่งไม่เหมือนกับข้อเท็จจริง หรือความจริงที่เกิดขึ้น

ปัจจัยในการรับรู้ 1. ความรู้ 2. ประสบการณ์ 3. ความสนใจ

2. บุคลิกภาพ ( personality ) บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะรวมของพฤติกรรมของบุคคล ซึ่งมีลักษณะแน่นอน ปัจจัยในการกำหนดบุคลิกภาพ 1. ตัวกำหนดด้านสรีรวิทยา 2. ครอบครัว และโรงเรียน 3. วัฒนธรรม

3. ทัศนคติ ( attitude ) ทัศนคติ หมายถึง ผลสรุปของความโน้มเอียงที่จะตอบสนองด้วยวิธีที่ชอบ หรือไม่ชอบ ที่พึงปรารถนา หรือไม่พึงปรารถนาต่อวัตถุ สิ่งของ บุคคล หรือแนวความคิด หรืออะไรก็ตาม

องค์ประกอบของทัศนคติ 1. องค์ประกอบของทัศนคติ 2. ส่วนของสติ และเหตุผล 3. ส่วนของพฤติกรรม

ความสมพันธ์ระหว่างองค์การและกลุ่มบุคคล กลุ่ม ( Group ) หมายถึง การตัวของบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป เพื่อดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งกลุ่มที่กล่าวถึงนี้ก็คือองค์การนั่นเอง

1. ชนิดหรือประเภทของกลุ่ม 1.1 กลุ่มหน้าที่ ( Functional group ) 1.2 กลุ่มงาน ( Task or project group ) 1.3 กลุ่มผลประโยชน์ และกลุ่มมิตรภาพ ( Interest group and friendship group )

2. โครงสร้างของกลุ่ม 2.1 องค์ประกอบของกลุ่ม 2.2 บรรทัดฐาน หรือปทัสถาน 2.2 บรรทัดฐาน หรือปทัสถาน 2.3 สถานภาพของบุคคล 2.4 บทบาท 2.5 ความเป็นผู้นำ 2.6 ความรักและความผูกพัน