ระบบการจัดการอุบัติเหตุในโรงพยาบาล โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ ระบบการจัดการอุบัติเหตุในโรงพยาบาล โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ
โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ การจัดทำระบบ การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety Management System Implementation) มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ( มอก.18001:2542 ) โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ
วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ ประวัติวิทยากร วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ ตำแหน่งปัจจุบัน : พนักงานบริหารความปลอดภัย (SAFETY ADMINISTRATIVE OFFICER) ส่วนความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ชั้น 10 บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) 555 ถ.อาจณรงค์ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0-2239-7963 Fax. 0-2239-7950 , Mobile: 08-1738-1643 E-mail: vachiravitch.m@pttplc.com การศึกษา : ปริญญาโท MBA. มหาวิทยาลัยรามคำแหง : ปริญญาตรี T.Ind.Ed.( Electricity ) วิทยาลัยครูพระนคร
การฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน Modern Safety Management Lead Assessor Auditor ISO9001 Lead Assessor Auditor ISO14001 Lead Assessor Auditor OHSAS 18001 มอก.18001&ISO14001 Implementation ISO9001 Implementation & Auditor ศึกษาดูงานที่ประเทศ อังกฤษ,สหรัฐอเมริกา,ญี่ปุ่น,สิงค์โปร์ เป็นที่ปรึกษา มาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001 กระทรวงแรงงาน ประสบการณ์ 2533-2533 : เจ้าหน้าที่ฝ่ายวางแผน การไฟฟ้านครหลวง สำนักงานใหญ่ (วัดเลียบ) 2533-2547 : เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. 2533-2534 : Instrument Maintenance Officer คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. 2540-2547 : EMR (ISO14001) คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. 2542-2547 : OH&SMR (TIS18001) คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. 2543-2545 : Gas Operation Section คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. 2545-2547 : Administration Section คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. 2547-Present : Safety Administrative Officer : ส่วนความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม (ปส.ผคน.ธกน.)
ความเป็นมาของ มอก.18001 : 2542 สังคมอุตสาหกรรม ความเป็นมาของ มอก.18001 : 2542 สังคมอุตสาหกรรม แรงงานทำงานเสี่ยงมากขึ้น สภาพแวดล้อมการทำงานไม่เหมาะสม เทคโนโลยีใหม่ ๆ อุบัติเหตุ อุบัติการณ์ สุขภาพอนามัยที่แย่ สภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรม THAILAND
ความจำเป็นในการนำมาตรฐานไปใช้ ควบคุมความเสี่ยง ลดความเสี่ยง ควบคุมความสูญเสีย เตรียมพร้อมสำหรับภาวะฉุกเฉิน ปรับปรุงการดำเนินงานของธุรกิจให้ปลอดภัย สร้างภาพพจน์องค์กรและประเทศไทย
มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย : ข้อกำหนด (มอก. 18000-2540)(เดิม) และความปลอดภัย : ข้อกำหนด (มอก. 18001-2542)(ใหม่)
แนวทางมาตรฐาน (ใหม่) BS 8800 ISO 9000 ISO 14000 มอก. 18001 - 2542
หลักของ มอก.18001 : 2542 ค้นหาอันตราย กำหนดมาตรการควบคุม ประเมินค่าอันตราย
เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กร 0. บทนำ เป้าหมาย ลดและควบคุมความเสี่ยงอันตรายของลูกจ้าง และผู้เกี่ยวข้อง เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กร แสดงถึงความรับผิดชอบขององค์กรต่อสังคม
เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการอาชีวอนามัย 1. ขอบข่าย กำหนดข้อกำหนดของระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ขององค์กรอย่างต่อเนื่อง
1. ขอบข่าย คำนึงถึงข้อกำหนดตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่อลูกจ้างและผู้เกี่ยวข้อง ในด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาให้การรับรองระบบการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2. การนำไปใช้ องค์ประกอบของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การทบทวนสถานะเริ่มต้น การทบทวนการจัดการ การกำหนดนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก.18001 การตรวจสอบและการแก้ไข การวางแผน การนำไปใช้และการปฏิบัติ
การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การกำหนดนโยบาย อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ข้อกำหนดทั่วไป การทบทวนสถานะเริ่มต้น การทบทวนการจัดการ การกำหนดนโยบาย อาชีวอนามัยและความปลอดภัย การตรวจสอบและแก้ไข - การติดตามตรวจสอบและการวัดผลการปฏิบัติ - การตรวจประเมิน - การแก้ไขและการป้องกัน - การจัดทำและเก็บบันทึก การวางแผน - การประเมินความเสี่ยง - กฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ - การเตรียมการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การนำไปปฏิบัติ - โครงสร้างหน้าที่ความรับผิดชอบ - การฝึกอบรม การสร้างจิตสำนึก และ ความรู้ ความสามารถ - การสื่อสาร - เอกสารและการควบคุมเอกสาร - การจัดซื้อและการจัดจ้าง - การควบคุมการปฏิบัติ - การเตรียมความพร้อมสำหรับภาวะฉุกเฉิน - การเตือนอันตราย
องค์ประกอบที่ทำให้ประสบความสำเร็จ มอก. 18001 การนำมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยไปใช้ในองค์กรนั้นต้องมีองค์ประกอบดังนี้ องค์ประกอบที่ทำให้ประสบความสำเร็จ มอก. 18001 1. ผู้บริหารระดับสูงมีความมุ่งมั่นและตั้งใจแน่วแน่ 2. ทุกคนในองค์กรมีความเข้าใจ ให้ความสำคัญ มีส่วนร่วมและ ให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง 3. ได้รับการจัดสรรทรัพยากรอย่างเพียงพอ 4. มีการติดตามและปรับปรุงระบบการจัดการอาชีวอนามัย และ ความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
ป้องกันอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน เตรียมความพร้อมสำหรับภาวะฉุกเฉิน ประโยชน์ที่ได้รับ ป้องกันอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน เตรียมความพร้อมสำหรับภาวะฉุกเฉิน ลดรายจ่ายกองทุนเงินทดแทน สร้างขวัญและกำลังใจให้กับพนักงาน พร้อมสำหรับการแข่งขันในตลาดโลก