ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Advertisements

การแต่งกลอน.
จดหมายกิจธุระ.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ศาสนพิธี.
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
บทเรียนโปรแกรม Power Point
เรื่อง คำสรรพนาม.
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
คำราชาศัพท์ จัดทำโดย นางสาวสมพร อ่อนละออ.
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
คำราชาศัพท์และคำสุภาพ
เรื่องความรู้ทางภาษา
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
โรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
เรื่อง “บ้านคุณมีใครบ้าง 你家有谁?” ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3
วรรณวิจิตร ไพเราะในร้อยกรอง
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การเพิ่มคำ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
คำสุภาพ.
คำวิเศษณ์.
ตัวเลขไทย.
คำกริยา.
คำนาม สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณนาม สมุหนาม อาการนาม.
คำวิเศษณ์.
คำนาม.
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
ผู้บริหารพบนักเรียน.
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
แผนการจัดการเรียนรู้
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
๑๐.พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่เกอว
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
สื่อ CAI เรื่อง คำนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
การเขียน.
การเขียนรายงาน.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
เรื่อง คำราชาศัพท์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เสนอ อาจารย์ ชาติชาย ทนะขว้าง.
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
รูปแบบรายงาน.
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
หน่วยที่ ๑๐ การเขียนบทร้อยกรองในงานอาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การเขียนรายงาน.
ที่มาของคำราชาศัพท์ มาจากคำไทย+ภาษาต่างประเทศ บาลี,สันสกฤต,เขมร
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
สื่อการสอนวิชาคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียนรู้ เรื่องเครื่องหมายวรรคตอน
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย เด็กหญิงเนตรชนก จีระวัตร์ เลขที่ 22 เด็กหญิงพาณิภัค เจริญพิทักษ์พร เลขที่ 24 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 Enter

หัวข้อเรื่องต่างๆ คำสุภาพ พยัญชนะวรรค กลอนสุภาพ คำนาม แบบทดสอบ

คำสุภาพ     ถ้อยคำต่างๆที่เราพูดจากันโดยทั่วไปนั้น บางคำก็มิควรจะกราบบังคมทูลบางคำก็ควร ถ้าหากคำใดมิควรเราจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงเสียให้เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำต่างๆให้เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำต่างๆให้เหมาะสมนี่เราเรียกว่า “คำสุภาพ” คำสุภาพเป็นส่วนหนึ่งของราชาศัพท์ Home next

คำสุภาพที่ควรรู้     คำสามัญ            คำสุภาพ     กล้วยกุ            =กล้วยสั้น     กล้วยไข่         =กล้วยเปลือกบาง     กล้วยบวชชี       =นารีจำศีล     กองดิน            =มูลดิน     กะปิ            =เยื่อเคย     ขนมขี้หนู        =ขนมทราย     ขนมจีน            =ขนมเส้น     ขนมตาล        =ขนมทองฟู     ขนมเทียน        =ขนมบัวสาว     ขนมใส่ไส้    =ขนมสอดไส้ back next Home

ขี้กลาก    =        โรคกลาก     ขี้เกลื้อน    =        โรคเกลื้อน     ขี้ครั่ง        =    มูลครั่ง     ขี้ควาย    =        มูลควาย     ขี้ช้าง        =    มูลช้าง     ขี้ดิน        =    มูลดิน     ขี้ตืด        =    ตระหนี่     ขี้นก        =    มูลนก     ขี้บุหรี่    =        เถ้าบุหรี่     ขี้ผึ้ง        =    สีผึ้ง     ขี้เรื้อน    =        โรคเรื้อน     ขี้วัว        =    มูลวัว     ขี้สัตว์        =    มูลสัตว์     ขึงตาข่ายดักสัตว์    =    วางข่าย Home back

พยัญชนะวรรค         พยัญชนะในภาษาไทย แบ่งออกเป็นวรรคตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง  จัดลำดับตามจากแหล่งกำเนิดเสียงด้านในสุดออกมาตามลำดับ         ประโยชน์จากการแบ่งวรรคทำให้เกิดประโยชน์ทางหลักภาษาในเรื่อง อักษรสังโยค ไตรยางค์ อักษรคู่ อักษรเดี่ยว         ตารางการจัดพยัญชนะ       Home next

Home back วรรคที่ แถวที่ อักษร กลาง ๑ สูง ๒ ต่ำ (คู่) ๓ ๔  วรรคที่  แถวที่  อักษร กลาง ๑ สูง ๒ ต่ำ (คู่) ๓ ๔  อักษรต่ำ (เดี่ยว) ๕ เศษวรรค กัณฐชะ (คอ) ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง  ห อ ฮ ตาลุชะ (เพดาน) จ ฉ ช ซ ฌ ญ ยศ มุทธชะ (ปุ่มเหงือก) ฎฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ หันตะชะ (ฟัน) ดต ถ ท ธ น ล ส   โอฐชะ (ริมฝีปาก) บ ป  ผ ฝ  พ ฟ  ภ   ม    ว Home back

Home next ลักษณะสัมผัสของกลอนสุภาพมีดังนี้           - คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ส่งสัมผัสไปยังคำที่ ๓ หรือ ๕ของวรรคที่ ๒ ในกรณีที่วรรคที่ ๒มี ๘คำพอดี แต่ถ้าในวรรคที่ ๒มีอยู่ ๙คำ จะเลื่อนไปสัมผัสกับคำที่ ๖ แทน          - คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ไปสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๓        - คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ไปสัมผัสกับคำที่ ๓ หรือ ๕ (เช่นเดียวกับสัมผัสในวรรคที่ ๑ ไปวรรคที่ ๒)         - คำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ ส่งสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ของบทต่อไป Home next

ผังภูมิกลอนสุภาพ back Home

คำนามในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ สามานยนาม (คำนามไม่ชี้เฉพาะ) หรือคำนามทั่วไป คือ คำนามสามัญที่ใช้เป็นชื่อทั่วไป หรือเป็นคำเรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง สามานยนามบางคำมีคำย่อยเพื่อบอกชนิดย่อยๆของสิ่งต่างๆ เรียกว่า สามานยนามย่อย วิสามานยนาม (คำนามชี้เฉพาะ) หรือคำนามชี้เฉพาะ คือ คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สถานที่ หรือเป็นคำเรียกบุคคล สถานที่เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนไหน สิ่งใด ลักษณนาม (คำนามแสดงลักษณะ) คือ คำนามที่ทำหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปร่าง ลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของนามนั้นให้ชัดเจนขึ้น Home next

สมุหนาม (คำนามรวมหมู่) คือ คำนามบอกหมวดหมู่ของสามานยนาม และวิสามานยนามที่รวมกันมากๆ อาการนาม (คำนามแสดงอาการ) คือ คำนามที่บอกกิริยาอาการหรือความปรากฏเป็นต่าง ๆ ซึ่งมาจากคำกริยา หรือคำวิเศษณ์ จะมีคำว่า "การ" และ "ความ" นำหน้า ข้อสังเกต คำว่า “การ” และ “ความ” ถ้านำหน้าคำชนิดอื่นที่ไม่ใช่คำกริยา หรือคำวิเศษณ์ จะไม่นับว่าเป็นอาการนาม back Home

1. ข้อใดหมายถึง นารีจำศีล ก. คนบวชชี ข. ขนมเทียน ค. กล้วยบวชชี ง. ขนมเค้ก

ถูกต้องนะคะ เก่งมากค่ะ next

ผิดนะคะ ลองทำใหม่อีกครั้ง next

2. กะปิคำสุภาพคืออะไร ก. ตระหนี่ ข. เยื่อเคย ค. ขนมเส้น ง. รากดิน

ถูกต้องนะคะ เก่งมากค่ะ next

ผิดนะคะ ลองทำใหม่คะ next

3. ขนมทองฟู หมายถึงข้อใด ก. ขนมขี้หนู ข. ขนมเทียน ค. ขนมบัวลอย ง. ขนมตาล

ถูกต้องนะคะ เก่งมากค่ะ next

ผิดนะคะ ลองทำใหม่คะ next

4. พยัญชนะวรรคมีกี่วรรค ก. 5 วรรค ข. 6 วรรค ค. 7 วรรค ง. 8 วรรค

ถูกต้องนะคะ เก่งมากค่ะ next

ผิดนะคะ ลองทำใหม่ next

5. วรรคโอฐชะ คือวรรคไหน ก. เพดาน ข. ปุ่มเหงือก ค. คอ ง. ไม่มีคำตอบ

ถูกต้องนะคะ เก่งมากค่ะ next

ผิดนะคะ ลองทำใหม่ next

6. สัมผัสนอกของกลอนสุภาพมีกี่สัมผัส ก. 3 สัมผัส ข. 4 สัมผัส ค. 5 สัมผัส ง. 6 สัมผัส

ถูกต้องนะคะ เก่งมากค่ะ next

ผิดนะคะ ลองทำใหม่ next

7. กลอนสุภาพวรรคหนึ่งมีกี่พยางค์ ก. 10 พยางค์ ข. 8 พยางค์ ค. 5 พยางค์ ง. 6 พยางค์

ถูกต้องนะคะ เก่งมากค่ะ next

ผิดนะคะ ลองทำใหม่ next

8. ข้อไหนมีคำลักษณะนาม ก. นักเรียนของโรงเรียนวินิตศึกษา ในพระราชูปถัมภ์ ข. นักเรียน 3 คน ค. คณะนักเรียน ง. นักเรียน

ถูกต้องนะคะ เก่งมากค่ะ next

ผิดนะคะ ลองทำใหม่ next

9. ข้อไหนไม่ใช่อยู่ในกลุ่มของวิสามานยนาม ก. เรือครุฑเหินเห็จ ข. เรือพารีรั้งทวีป ค. เรืออีเหลือง ง. เรือ

ถูกต้องนะคะ เก่งมากค่ะ next

ผิดนะคะ ลองทำใหม่ next

10. อาการนาม หมายถึงอะไร ก. คำนามบอกอาการ ข. คำนามชี้เฉพาะ ค. คำนามบอกหมวดหมู่ ง. คำนามทั่วไป

ถูกต้องนะคะ เก่งมากค่ะ next

ผิดนะคะ ลองทำใหม่ next

แล้วเจอกันใหม่นะคะ The End End