สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทเรียนโปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
จดหมาย ทารก ถึงมารดา.
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
การศึกษารายกรณี.
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
อารมณ์และความต้องการของวัยรุ่น
ความคาดหวังของผู้เข้าร่วมประชุม
กำแพงของหัวใจ.
แนวทางในการพูดให้คำปรึกษา
ถ้าพ่อแม่เรียกเรา เราต้องรีบตอบเขา ถ้าพ่อแม่ให้เราทำอะไร เราต้องรีบไปทำ.
การทำงานอย่างมีความสุข
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 34
บทนำ บทที่ 1.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
พูดให้ไพเราะ (ธรรมะจากสวนโมกข์พลาราม)
ผมมี..ภรรยา 4 คน.
แบบฝึกคิดวิเคราะห์จากภาพ
บันทึกช่วยจำของ “เหลียงจี้จาง” (คุ้มค่าสำหรับการอ่านบทความนี้)
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
A good reminder... ♫ ♫.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
การอ่านเชิงวิเคราะห์
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การเขียน.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
รสวรรณคดี คุณครูมลิวัลย์ สินธุบุญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
แผนการจัดการเรียนรู้
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
กิจกรรมการคิด.
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด ภาษา - เป็นเครื่องมือที่ใช้ถ่ายทอดและแสดงออกทางความคิด โดยสื่อออกมาเป็นคำพูด การคิด - กระบวนการทำงานเพื่อหาคำตอบ ความคิด - ผลคำตอบที่ได้จากการคิด ทิศทางในการคิด - คิดในทางวัฒนะ และคิดในทางหายนะ ความคิดของมนุษย์ มี ๒ ประเภท ..... คิดอย่างมีเหตุผลและไม่มีเหตุผล วิธีคิดของมนุษย์ - มี ๓ วิธี .... วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า แยก รวม ตัดสิน

ปัญหา แบ่งเป็น ๓ ประเภท - เฉพาะบุคคล เฉพาะกลุ่ม สาธารณะ คนใดคนหนึ่ง กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ส่วนรวม/สังคม

แนวข้อสอบเข้าหาวิทยาลัย เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด

อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ ๑-๒ “เอ๊ะ ไม่เห็นคุณหลวงบอกเลยสักคำทั้งที่คุยกันทุกวัน เรื่องสำคัญอย่างนี้น่าจะบอกเล่าเก้าสิบกันบ้าง ทำแบบนี้เหมือนพยายามจะงุบงิบไม่ให้รู้อย่างนั้นแหละ” ผู้กล่าวข้อความนี้รู้สึกอย่างไร ก. กลุ้มใจ ข. เบื่อหน่าย ค. หงุดหงิด ง. โกรธแค้น ตอบ ข้อ ค.

“เอ๊ะ ไม่เห็นคุณหลวงบอกเลยสักคำทั้งที่คุยกันทุกวัน เรื่องสำคัญอย่างนี้น่าจะบอกเล่าเก้าสิบกันบ้าง ทำแบบนี้เหมือนพยายามจะงุบงิบไม่ให้รู้อย่างนั้นแหละ” ข้อใดไม่อาจอนุมานได้ จากข้อความนี้ ก. ผู้พูดมองผู้ที่กล่าวถึงในทางไม่ดี ข. ผู้พูดสนิทกับผู้ที่กล่าวถึง ค. ผู้พูดไม่ค่อยพอใจการกระทำของผู้ที่กล่าวถึง ง. ผู้พูดเกลียดผู้ที่กล่าวถึงเพราะไม่บอกความลับ ตอบ ข้อ ง.

ข้อใดกล่าวโดยไม่มีเหตุผลสนับสนุน ก. ดินเย็นด้วยหญ้าบัง และหญ้ายังด้วยดินดี ข. ถ้อยทีถ้อยอาศัย ยืนชีพได้ด้วยไมตรี ค. วันนี้ตราบวันหน้า เจ้าพระยายังคงมั่น ง. น้ำเป็นสิ่งสำคัญ เพราะเรานั้นใช้ดื่มกัน ตอบ ข้อ ค.

อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบ ข้อ ๔ - ๖ “ เสียงเครื่องยนต์แผดร้องกลางเปลวควัน ดังไฟฝันจางหายมลายสิ้น คนเมืองไร้น้ำใจไม่เคยชิน ขอคืนถิ่นบ้านเราไม่เหงาใจ” ข้อความใดเป็นข้อสรุป ก. วรรคที่ ๑ ข. วรรคที่ ๒ ค. วรรคที่ ๓ ง. วรรคที่ ๔ ตอบ ข้อ ง.

“ เสียงเครื่องยนต์แผดร้องกลางเปลวควัน ดังไฟฝันจางหายมลายสิ้น คนเมืองไร้น้ำใจไม่เคยชิน ขอคืนถิ่นบ้านเราไม่เหงาใจ” ๕. ข้อความใดเป็นข้อสนับสนุน ก. วรรคที่ ๑ ข. วรรคที่ ๒ ค. วรรคที่ ๓ ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ข้อ ง.

“ เสียงเครื่องยนต์แผดร้องกลางเปลวควัน ดังไฟฝันจางหายมลายสิ้น คนเมืองไร้น้ำใจไม่เคยชิน ขอคืนถิ่นบ้านเราไม่เหงาใจ” ๖. วรรคใดมีเสียงวรรณยุกต์โท ๒ คำ เสียงจัตวา ๒ คำ ก. วรรคที่ ๑ ข. วรรคที่ ๒ ค. วรรคที่ ๓ ง. วรรคที่ ๔ ตอบ ข้อ ง.

อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ ๗ - ๙ “ มาเถิด............พักตรงนี้ก่อนที่รัก รวดร้าวนักพักผ่อนก่อนสหาย เจ็บในรักร้าวตนทุรนทุราย รอจนคลายค่อยไปต่ออย่าท้อใจ ” ผู้กล่าวข้อความนี้มีจุดมุ่งหมายอย่างไร ก. ห้ามปราม ข. สั่งสอน ค. เตือนสติ ง. ปลอบโยน ตอบ ข้อ ง.

“ มาเถิด............พักตรงนี้ก่อนที่รัก รวดร้าวนักพักผ่อนก่อนสหาย เจ็บในรักร้าวตนทุรนทุราย รอจนคลายค่อยไปต่ออย่าท้อใจ ” ข้อความนี้ อนุมานได้ว่าใครพูดกับใคร ก. เพื่อนพูดกับเพื่อน ข. สามีพูดกับภรรยา ค. ชายหนุ่มพูดกับคนรัก ง. พ่อแม่พูดกับลูก ตอบ ข้อ ก.

“ มาเถิด............พักตรงนี้ก่อนที่รัก รวดร้าวนักพักผ่อนก่อนสหาย เจ็บในรักร้าวตนทุรนทุราย รอจนคลายค่อยไปต่ออย่าท้อใจ ” ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับข้อความดังกล่าวนี้ ก. ความรัก ข. ความระทมใจ ค. ความไม่สมหวัง ง. ความเบื่อหน่าย ตอบ ข้อ ง.

บริษัทแห่งหนึ่งรับสมัครงาน มีผู้ผ่านเข้าสอบสัมภาษณ์ ๔ คน ผู้สอบต้องตอบคำถามเดียวกัน คือเหตุผลที่ลาออกจากบริษัทเดิมมาสมัครบริษัทนี้ ผู้สอบสัมภาษณ์คนใดน่าจะทำคะแนนได้ดีที่สุด ก. คนที่ ๑ เพราะบริษัทของท่านมีชื่อเสียงและน่าเชื่อถือ ข. คนที่ ๒ อยากเปลี่ยนงานใหม่ เพื่อจะได้ก้าวหน้ากว่าเดิม ค. คนที่ ๓ เพราะต้องการความก้าวหน้า ที่นี่ให้เงินเดือนสูงกว่าที่อื่นๆ ง. อยากหาประสบการณ์ใหม่ๆ และคิดว่างานที่นี่จะตรงกับความรู้ มากกว่า ตอบ ข้อ ง.