ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมดุลเคมี.
Advertisements

ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
ดิน(Soil).
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
ธาตุอาหารพืช Macronutrients : N, P, K, Ca, Mg, S
9. พฤติกรรมของสารเคมีกำจัดวัชพืชในต้นพืช
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การเสื่อมเสียของอาหาร
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
Chemical Properties of Grain
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
โมเลกุล เซลล์ และ ออร์กาเนลล์ (Molecules Cells and Organelles)
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
วัตถุประสงค์การใช้สารเคมีควบคุมแมลงพาหะ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
สาเหตุของดินเสีย.
การปลูกพืชกลับหัว.
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
Phosphorus and Phosphate
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
863封面 ทองคำ เขียว.
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การเจริญเติบโตของพืช
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
ใช้มากเกินความจำเป็น
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
(Introduction to Soil Science)
/ Soil Fertility and Plant Nutrition
122351/ Soil Fertility and Plant Nutrition
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช

ปัจจัยในการเจริญเติบโตของพืช พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม

ตัวอย่างผลผลิตข้าวในญี่ปุ่น

ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม โรค วัชพืช แมลงศัตรูพืช น้ำ ธาตุอาหาร แสงแดด อากาศ (CO2) อุณหภูมิ สารพิษ

ธาตุอาหารพืช ธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตของพืชชั้นสูงทุกชนิดมี 16 ธาตุ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. ธาตุอาหารที่พืชได้จากน้ำและอากาศ Carbon (C) Hydrogen (H) Oxygen (O)

ธาตุอาหารพืช 2. พืชได้จากดิน Nitrogen (N) Phosphorus (P) Potassium (K) Iron (Fe) Manganese (Mn) Copper (Cu) Zinc (Zn) Boron (B) Molybdenum (Mo) Chlorine (Cl) Nickel (Ni) Nitrogen (N) Phosphorus (P) Potassium (K) Calcium (Ca) Magnesium (Mg) Sulfer (S)

ธาตุอื่นที่พืชบางชนิดต้องการ Cobalt (Co) เป็นธาตุที่จำเป็นสำหรับจุลินทร์ที่ปมรากของพืชตระกูลถั่ว เพื่อสร้าง enzymeสำหรับตรึงไนโตรเจน Silicon (Si) จำเป็นสำหรับ ข้าว ข้าวโพด และพืชตระกูลหญ้า ช่วยให้เซลล์พืชแข็งแรง และต้านทานโรค

ความเข้มข้นของธาตุอาหารในพืช ธาตุ Mole (mmol/kg dry wt.) Weight (dry wt.) H 600,000 6.0% C 40,000 45.0% O 30,000 45.0% N 1,000 1.5% K 250 1.0% Ca 125 0.5% Mg 80 0.2% P 60 0.2% S 30 0.1%

ความเข้มข้นของธาตุอาหารในพืช ธาตุ Mole (mmol/kg dry wt.) Weight (dry wt.) Cl 3.0 100 mg/kg B 2.0 20 mg/kg Fe 2.0 100 mg/kg Mn 1.0 50 mg/kg Zn 0.3 20 mg/kg Cu 0.1 6 mg/kg Mo 0.001 0.1 mg/kg

ประเภทของธาตุอาหาร 1. มหธาตุ (macronutrient) หมายถึงธาตุอาหารที่พืชต้องการในปริมาณมาก โดยทั่วไปมีในพืชมากกว่า 500 mg/kg โดยน้ำหนักแห้ง มหธาตุแบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย ดังนี้

ประเภทของธาตุอาหาร 1.2 ธาตุอาหารหลัก (primary nutrient) มี 6 ธาตุ คือ C, H, O, N, P, และ K พืชได้รับ C, H, และ O จากอากาศและน้ำ ส่วน N, P, และ K พืชได้รับจากดิน ซึ่งดินโดยทั่วไปมีไม่เพียงพอ จึงมักจำเป็นต้องเพิ่มให้กับพืชในรูปของปุ๋ย ด้วยเหตุนี้ธาตุ N,P, K จึงเรียกว่าธาตุปุ๋ย (fertilizer element)

ประเภทของธาตุอาหาร 1.2 ธาตุอาหารรอง (secondary nutrient) มี 3 ธาตุ คือ Ca, Mg, และS ปริมาณที่พืชต้องการใกล้เคียงหรือมากกว่า P เหตุที่จัดเป็นธาตุอาหารรองเพราะในดินโดยทั่วไปมักมีเพียงพอกับความต้องการของพืช

ประเภทของธาตุอาหาร 2. จุลธาตุ (micronutrient) หมายถึงธาตุที่พืชต้องการเพียงเล็กน้อย โดยทั่วไปพบในพืชน้อยกว่า 500 mg/kg ธาตุเหล่านี้ได้แก่ Fe, Mn, Cu, Zn, B, Mo, และ Cl บางครั้งเรียกธาตุเหล่านี้ว่า ธาตุอาหารเสริม เนื่องจากต้องให้เสริมจากธาตุอาหารหลัก

การดูดธาตุอาหารไปใช้ พืชดูดธาตุอาหารไปใช้ 2 ทาง คือ 1. ทางปากใบ (stomata) พืชได้รับ C และ O ในรูป CO2, และ O2 2. ทางราก (root) พืชได้รับธาตุอาหารอื่นที่เหลือในรูปน้ำ (H2O)และไอออนต่างๆ ที่ละลายในสาลละลายดิน

ไอออนที่พืชดูดไปใช้ Nutrient Available form N NH4+, NO3- P H2PO4-, HPO42- K K+ Ca Ca2+ Mg Mg2+ S SO42-

ไอออนที่พืชดูดไปใช้้ Nutrient Available form Fe Fe2+, Fe3+ Mn Mn2+ Cu Cu2+ Zn Zn2+ B H3BO3, H2BO3- Cl Cl- Mo MoO4-

การเคลื่อนย้ายธาตุอาหารจากดินสู่ราก พืชสามารถนำธาตุอาหารที่อยู่ในดินไปใช้ได้เฉพาะเมื่อธาตุเหล่านั้นละลายอยู่ในสารละลายดิน โดยการยืดยาวของรากพืชไปยังแหล่งธาตุอาหาร หรือโดยธาตุอาหารในสารละลายดินเคลื่อนที่เข้าหารากพืช

การเคลื่อนย้ายธาตุอาหารจากดินสู่ราก ธาตุอาหารในดินเคลื่อนที่เข้าหารากพืชได้ 2 วิธี คือ Mass flow หมายถึงการเคลื่อนย้ายไอออนต่างๆ ไปยังรากพร้อมกับน้ำ Diffusion หมายถึงการเคลื่อนที่ของไอออนจากที่ที่มีความเข้มข้นสูงไปยังต่ำ

การเคลื่อนย้ายธาตุอาหารจากดินสู่ราก ธาตุอาหารที่อยู่ในรูปแคทไอออน (ไอออนบวก) และถูกดูดซับอยู่ที่ผิวอนุภาคดิน รากพืชจะปลดปล่อย H+ ออกมาเพื่อแลกเปลี่ยนไอออน ทำให้แคทไอออนเคลื่อนที่มาอยู่ในสารละลาย

การเคลื่อนย้ายธาตุอาหารจากดินสู่ราก ธาตุอาหารที่อยู่ในรูปแอนไอออน (ไอออนลบ) และถูกดูดซับอยู่ที่ผิวอนุภาคดิน รากพืชจะปลดปล่อย HCO3- ออกมาเพื่อแลกเปลี่ยนไอออน ทำให้แอนไอออนเคลื่อนที่มาอยู่ในสารละลาย

การเคลื่อนย้ายธาตุอาหารจากดินสู่ราก นอกจาก H+ และ HCO3- แล้ว พืชบางชนิดยังสามารถปลดปล่อยสารชนิดอื่นออกมา ทำให้พืชแต่ละชนิดมีความสามารถดูดซับธาตุอาหารได้แตกต่างกันออกไป

การเคลื่อนย้ายธาตุอาหารจากดินสู่ราก ธาตุอาหาร (ไอออน) ในสารละลายดินเคลื่อนที่เข้าสู่รากพืชได้ 3 วิธี คือ Simple diffusion Facilitated diffusion Active transport

Simple diffusion Simple diffusion หมายถึงการเคลื่อนที่ของสารเนื่องจากความแตกต่างของความเข้มข้นจากความเข้มข้นมากไปหาความเข้มข้นน้อย การเคลื่อนที่แบบนี้พบเฉพาะ CO2 O2 และ NH3 เท่านั้น อัตราการเคลื่อนที่เป็นไปตาม Fick’s Law

Fick’s Law J = PA(C0 - Ci) J = ความเร็วของสารที่เคลื่อนที่ผ่าน cell membrane (mole/sec) P = permeability coefficient (cm/sec) A = พื้นที่ cell membrane (cm2) C0 = ความเข้มข้นนอก cell Ci = ความเข้มข้นใน cell

Facilitated diffusion Facilitated diffusion หมายถึงการเคลื่อนที่ของสารตามความแตกต่างของ chemical potential (สารที่ไม่มีประจุ) และ electro- chemical potential (สารที่มีประจุ) ผ่านเข้าสู่เซลล์ทาง channel protein หรือ carrier protein

Active transport Active transport หมายถึงการเคลื่อนที่ของธาตุอาหารเข้าสู่เซลล์ผ่านทาง carrier protein โดยเซลล์ต้องใช้พลังงานในการเคลื่อนย้ายธาตุอาหาร การลำเลียงธาตุอาหารแบบนี้ทำให้ความเข้มข้นของธาตุอาหารภายในเซลล์สูงกว่าภายนอกเซลล์

การเคลื่อนย้ายธาตุอาหารจากดินสู่ราก

การเคลื่อนย้ายธาตุอาหารภายในราก

ธาตุอาหารกับการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต 100 Deficiency Optimal Toxicity Relative growth (%) Nutrient concentration

บทบาทของธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโต เป็นองค์ประกอบของเนื้อเยื่อพืช เช่น C, H, O, N, P, S, Ca และ Mg ควบคุมการทำงานของ enzyme เช่น K, Ca, Mg, Fe, Mn, Cu, และ Mo

บทบาทของธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโต เป็นตัวควบคุมแรงดันและสมดุลทางไฟฟ้าเคมีภายในเซลล์ เช่น K และ Cl เกี่ยวข้องกับปฏิกริยา Redox เช่น Fe, Mn, Cu, และ Mo

ธาตุอาหารกับการเจริญเติบโตของพืช