โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

กรอบความร่วมมือทาง เศรษฐกิจ กลุ่มที่ 8 สำนักบริหาร มาตรฐาน 1.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
( Crowdsourcing Health Information System Development )
ชื่อ กนกภรณ์ นามสกุล บุญทรง รหัสนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
การค้ามนุษย์.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
การเขียนโครงการ.
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การเตรียมการของประเทศไทยเพื่อรองรับการค้าเสรี
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ชี้แจงการ ประชุมกลุ่ม โดย แพทย์หญิงวรยา เหลืองอ่อน สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ - กลุ่มภาครัฐ - รัฐวิสาหกิจ - ภาคเอกชน 3 กลุ่ม.
การบริหารการตลาดโครงการทำการเกษตรตามสัญญา(Contract Farming) กรณีศึกษาด้านประเทศ สปป.ลาว โดย นางปราณี ศิริพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการค้าชายแดนและมาตรการพิเศษทางการค้า.
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
Evaluation of Thailand Master Plan
การประชุมชี้แจง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้ เพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำ และสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
วิสัยทัศน์ทางการค้า ศูนย์กลางการค้า การลงทุน การท่องเที่ยวครบวงจร.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT (หัวข้อบรรยาย) 1. ความเป็นมา 2. วัตถุประสงค์และลักษณะความร่วมมือ 3. สาขาความร่วมมือและที่เป็นกรอบยุทธศาสตร์ 4. ผลทางการค้าที่ (คาดว่า) จะได้รับ 5. ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน 6. ผลการประชุมล่าสุด (มิถุนายน 2544) 7. ข้อคิดเห็นเสนอแนะต่อโครงการ

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 1. ความเป็นมา เริ่ม มกราคม-เมษายน 2536 เสนอโดยมาเลเซีย ประสานงานโดย อินโดนีเซีย (ไทย ?) ครอบคลุมเฉพาะพื้นที่ที่กำหนดเท่านั้น อาเชห์ สุมาตราเหนือและตะวันตก อินโดนีเซีย เคดาห์ เปอร์ลิส เปรักและปีนัง มาเลเซีย สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล ไทย มิถุนายน 2544 เพิ่มเขต Bengkelu และ Jambi

พื้นที่เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT ไทย ภาคใต้ 5 จังหวัด 4 จังหวัด มาเลเซีย อินโดนีเซีย เกาะสุมาตรา

สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล เคดาห์ เปอร์ลิส เปรักและปีนัง

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 2. วัตถุประสงค์และลักษณะความร่วมมือ - ช่วยเหลือและร่วมมือกันทางเศรษฐกิจและสังคม - ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต การลงทุน การถ่ายทอดเทคโนโลยี การเชื่อมโยงและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน การลดต้นทุนการขนส่ง - จุดเด่น คือ เอกชนเป็นผู้ระบุความต้องการและ รัฐจะให้การสนับสนุนตามนั้น

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 3. สาขาความร่วมมือและที่เป็นกรอบยุทธศาสตร์ 1. คมนาคมและขนส่งทางบกและน้ำ 2. พลังงาน 3. เกษตรและประมง 4. อุตสาหกรรม 5. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และแรงงาน 6. การค้า 7. การลงทุนและการเงิน 8. การท่องเที่ยว 9. คมนาคมและขนส่งทางอากาศ 10. สื่อสารโทรคมนาคม

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 3. สาขาการพัฒนาที่เป็นกรอบยุทธศาสตร์ 6 สาขา 1. โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Development) 2. การค้าและการพัฒนาควบคู่ (Trade and In-situ Development) 3. การดำเนินการเปิดตลาด (Open Market Operation) 4. การพัฒนาเฉพาะรายสาขา (Sectoral Development) 5. การพัฒนาสหสาขาร่วมกัน (Cross-sectoral Development) 6. การพัฒนาพื้นที่ข้างเคียง (Development of Hinterlands)

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 4. ผลทางการค้าที่ (คาดว่า) จะได้รับ การทำแผนตลาดร่วมกัน สร้างเครื่องหมายการค้า IMT-GT Brand Name เพิ่มแรงจูงใจการลงทุนด้วยสิทธิประโยชน์ เพิ่มประสิทธิภาพอุตสาหกรรมในพื้นที่ด้วยการ รวมกลุ่มผลิต (Clusters) แลกเปลี่ยนข้อมูลและลด NTM ระหว่างกัน ร่วมมือกันใช้ระบบชำระเงินโดยไม่อิงเงิน US$

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 5. ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน ขยายเวลาเปิดด่านไทย-มาเลเซียเป็น 24 ชั่วโมง ขนส่งสินค้าเน่าเสียง่ายผ่านด่านโดยไม่เปิดตรวจ มีคณะทำงานเฉพาะกิจ IMT-GT Task Force ให้มีการพิจารณาลด NTB (Non-Tariff Barrier) พัฒนาถนนสายสตูล-เปอร์ลิส ยกระดับทางด่านเกวียนให้สูงเท่าด่านศุลกากรไทย

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 5. ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน (ต่อ) พัฒนาปรับปรุงถนนในมาเลเซียที่เชื่อมต่อกับสตูลให้ รองรับรถบรรทุกขนาดใหญ่ได้ เสนอให้เปิดเส้นทางอากาศ หาดใหญ่-เมดาน-ปีนัง มีโครงการ IMT-GT: Triangle of Treasures เพื่อสนับ สนุนการท่องเที่ยว [ทางเรือ (Cruise)] เป็น Special Telecommunication Zone คิดอัตราพิเศษ

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 6. ผลการประชุมล่าสุด (มิถุนายน 2544) ให้ลำดับความสำคัญของโครงการดำเนินการต่างๆ พัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูลข่าวสารด้านการค้า การลงทุน และข้อมูลสารสนเทศแหล่งวัตถุดิบ ให้ศึกษาการเปิดเสรีเส้นทางเดินอากาศ แล้วส่ง รายงานปลายปี 2544 ให้ความสำคัญต่อ SME เพื่อกระชับความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจของ IMT-GT

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 7. ข้อคิดเห็นเสนอแนะต่อโครงการ - ไทยไม่มีพรมแดนติดกับอินโดนีเซีย ติดต่อไม่สะดวก - นักธุรกิจสนใจทำธุรกิจกับไทย แต่ไทยสนใจการประชุม - ภาครัฐของไทยต่อ IMT-GT ยังขาดความชัดเจน - รัฐไม่สนใจข้อคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของเอกชน - ภาคเอกชนยังขาดการประสานงานระหว่างองค์กรใหญ่

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT ประเด็นข้อคิดเห็นต่อโครงการ - มีข้อเสนอแนะจากนักอุตสาหกรรมและนักธุรกิจน้อย - ไทยมีผลประโยชน์ต่อ IMT-GT น้อยจริงหรือไม่ - แผนยุทธศาสตร์ไม่มีเงื่อนไขเวลาและเป้าหมายของงาน - ภาคเอกชนมีความต้องการและความจริงใจ !!!!