โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT (หัวข้อบรรยาย) 1. ความเป็นมา 2. วัตถุประสงค์และลักษณะความร่วมมือ 3. สาขาความร่วมมือและที่เป็นกรอบยุทธศาสตร์ 4. ผลทางการค้าที่ (คาดว่า) จะได้รับ 5. ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน 6. ผลการประชุมล่าสุด (มิถุนายน 2544) 7. ข้อคิดเห็นเสนอแนะต่อโครงการ
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 1. ความเป็นมา เริ่ม มกราคม-เมษายน 2536 เสนอโดยมาเลเซีย ประสานงานโดย อินโดนีเซีย (ไทย ?) ครอบคลุมเฉพาะพื้นที่ที่กำหนดเท่านั้น อาเชห์ สุมาตราเหนือและตะวันตก อินโดนีเซีย เคดาห์ เปอร์ลิส เปรักและปีนัง มาเลเซีย สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล ไทย มิถุนายน 2544 เพิ่มเขต Bengkelu และ Jambi
พื้นที่เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT ไทย ภาคใต้ 5 จังหวัด 4 จังหวัด มาเลเซีย อินโดนีเซีย เกาะสุมาตรา
สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล เคดาห์ เปอร์ลิส เปรักและปีนัง
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 2. วัตถุประสงค์และลักษณะความร่วมมือ - ช่วยเหลือและร่วมมือกันทางเศรษฐกิจและสังคม - ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต การลงทุน การถ่ายทอดเทคโนโลยี การเชื่อมโยงและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน การลดต้นทุนการขนส่ง - จุดเด่น คือ เอกชนเป็นผู้ระบุความต้องการและ รัฐจะให้การสนับสนุนตามนั้น
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 3. สาขาความร่วมมือและที่เป็นกรอบยุทธศาสตร์ 1. คมนาคมและขนส่งทางบกและน้ำ 2. พลังงาน 3. เกษตรและประมง 4. อุตสาหกรรม 5. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และแรงงาน 6. การค้า 7. การลงทุนและการเงิน 8. การท่องเที่ยว 9. คมนาคมและขนส่งทางอากาศ 10. สื่อสารโทรคมนาคม
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 3. สาขาการพัฒนาที่เป็นกรอบยุทธศาสตร์ 6 สาขา 1. โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Development) 2. การค้าและการพัฒนาควบคู่ (Trade and In-situ Development) 3. การดำเนินการเปิดตลาด (Open Market Operation) 4. การพัฒนาเฉพาะรายสาขา (Sectoral Development) 5. การพัฒนาสหสาขาร่วมกัน (Cross-sectoral Development) 6. การพัฒนาพื้นที่ข้างเคียง (Development of Hinterlands)
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 4. ผลทางการค้าที่ (คาดว่า) จะได้รับ การทำแผนตลาดร่วมกัน สร้างเครื่องหมายการค้า IMT-GT Brand Name เพิ่มแรงจูงใจการลงทุนด้วยสิทธิประโยชน์ เพิ่มประสิทธิภาพอุตสาหกรรมในพื้นที่ด้วยการ รวมกลุ่มผลิต (Clusters) แลกเปลี่ยนข้อมูลและลด NTM ระหว่างกัน ร่วมมือกันใช้ระบบชำระเงินโดยไม่อิงเงิน US$
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 5. ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน ขยายเวลาเปิดด่านไทย-มาเลเซียเป็น 24 ชั่วโมง ขนส่งสินค้าเน่าเสียง่ายผ่านด่านโดยไม่เปิดตรวจ มีคณะทำงานเฉพาะกิจ IMT-GT Task Force ให้มีการพิจารณาลด NTB (Non-Tariff Barrier) พัฒนาถนนสายสตูล-เปอร์ลิส ยกระดับทางด่านเกวียนให้สูงเท่าด่านศุลกากรไทย
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 5. ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน (ต่อ) พัฒนาปรับปรุงถนนในมาเลเซียที่เชื่อมต่อกับสตูลให้ รองรับรถบรรทุกขนาดใหญ่ได้ เสนอให้เปิดเส้นทางอากาศ หาดใหญ่-เมดาน-ปีนัง มีโครงการ IMT-GT: Triangle of Treasures เพื่อสนับ สนุนการท่องเที่ยว [ทางเรือ (Cruise)] เป็น Special Telecommunication Zone คิดอัตราพิเศษ
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 6. ผลการประชุมล่าสุด (มิถุนายน 2544) ให้ลำดับความสำคัญของโครงการดำเนินการต่างๆ พัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูลข่าวสารด้านการค้า การลงทุน และข้อมูลสารสนเทศแหล่งวัตถุดิบ ให้ศึกษาการเปิดเสรีเส้นทางเดินอากาศ แล้วส่ง รายงานปลายปี 2544 ให้ความสำคัญต่อ SME เพื่อกระชับความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจของ IMT-GT
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 7. ข้อคิดเห็นเสนอแนะต่อโครงการ - ไทยไม่มีพรมแดนติดกับอินโดนีเซีย ติดต่อไม่สะดวก - นักธุรกิจสนใจทำธุรกิจกับไทย แต่ไทยสนใจการประชุม - ภาครัฐของไทยต่อ IMT-GT ยังขาดความชัดเจน - รัฐไม่สนใจข้อคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของเอกชน - ภาคเอกชนยังขาดการประสานงานระหว่างองค์กรใหญ่
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT ประเด็นข้อคิดเห็นต่อโครงการ - มีข้อเสนอแนะจากนักอุตสาหกรรมและนักธุรกิจน้อย - ไทยมีผลประโยชน์ต่อ IMT-GT น้อยจริงหรือไม่ - แผนยุทธศาสตร์ไม่มีเงื่อนไขเวลาและเป้าหมายของงาน - ภาคเอกชนมีความต้องการและความจริงใจ !!!!