บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
การเขียนบทความ.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การวางแผนและการดำเนินงาน
มหาวิทยาลัย ต้องการชุด โครงการแบบไหน. น่าจะเริ่มต้นถามว่า ต้องการผลงานแบบไหน จากชุดโครงการวิจัย.
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
การวิจัยในชั้นเรียน ครูบรรจุใหม่
การเขียนรายงานการวิจัย
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
* ห้ามใช้ความคิดของตัวเองเด็ดขาด ให้ พิจารณาตามข้อความ 1. อ่านเรื่องอย่างคร่าวๆ แล้ววงหรือระบายคำที่ เป็นคำถามในตารางทุกคำ และทุกครั้งที่พบใน ข้อความที่อ่าน.
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การวิเคราะห์เนื้อหา.
การเขียนรายงานการวิจัย
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การสอนแบบแผนที่ความคิด (Mind Map)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
การฟังเพลง.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
CPE Project 1 บทที่ 2. ภาพรวม บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ ทฤษฎี (theory) = สมมติฐานที่ได้รับการตรวจสอบ และทดลองหลายครั้งหลายหนจนสามารถอธิบาย ข้อเท็จจริงสามารถคาดคะเนทำนายสิ่งที่เกี่ยวข้อง.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นต้น ใบสรุปในการเข้าสนาม การทำรหัสข้อมูล การสะท้อนความคิด การลงสรุปชั่วคราว

การนำเสนอข้อมูล ตารางเปรียบเทียบ เครือข่าย แผนภูมิเหตุการณ์

1.การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นต้น

1.1 ใบสรุปการเข้าสนามในแต่ละครั้ง หลังการเก็บข้อมูลภาคสนามในแต่ละครั้ง พิจารณาว่ามี มโนทัศน์หลัก หัวข้อ(themes) ประเด็นปัญหา คำถามอะไรบ้าง สะท้อนความคิด เพื่อลงสรุปย่อ โดยมุ่งไปที่คำถามหลัก ตอบคำถามแต่ละข้ออย่างสั้นๆเพื่อสรุปรวมเป็นใจความหลัก

แนวทางในการสรุป อาจใช้คำถามนำ การเข้าสนามครั้งนี้มีหัวข้อหลัก หรือประเด็นปัญหาอะไรบ้าง การเก็บข้อมูลครั้งนี้เกี่ยวข้องกับคำถามใดและตัวแปรใดในกรอบการวิจัยขั้นต้น มีเหตุการณ์อะไร มีใครเข้ามาเกี่ยวข้องบ้าง การเก็บข้อมูลครั้งนี้เกิดข้อสรุปชั่วคราว หรือข้อสันนิษฐานอะไรบ้าง

1.2 การทำรหัส (coding) การทำรหัสสามารถทำได้กับ วลี ประโยค หรือย่อหน้าก็ได้ การทำรหัสเพื่อเรียกข้อมูลขึ้นมาหรือใช้เรียบเรียงข้อมูล สะดวกต่อการค้นหา กลุ่มข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคำถามวิจัย ข้อสมติฐาน หรือ themes

การสร้างรหัส การสร้างรหัสชั่วคราวก่อนลงสนาม การสร้างรหัสหลังลงสนามแล้ว

ข้อควรพิจารณาในการลงรหัสและปรับปรุงรหัส มีรหัสที่เป็นตัวแปรเชิงมโนทัศน์ หรือไม่ ถ้ามีควรมีการนิยามปฏิบัติการ เพื่อที่จะสามารถทำให้เกิดความเข้าใจตรงกัน และสามารถใช้ได้อย่างคงเส้นคงวาโดยเฉพาะในการทำวิจัยหลายคน

การตรวจสอบการลงรหัส ความเที่ยง = จำนวนของความสอดคล้องกัน ความเที่ยง = จำนวนของความสอดคล้องกัน ผลรวมของจำนวนที่เห็นด้วย+ไม่เห็นด้วย

1.3 การทำข้อสรุปชั่วคราว(memoing) เป็นการเขียนความคิดในเชิงทฤษฎีที่ได้จาการทำรหัสข้อมล และความสัมพันธ์ของรหัสข้อมูลที่ทำอยู่นี้ทำให้ผู้วิจัยเกิดความสนใจขึ้นมา... การสรุปชั่วคราวอาจอยู่ในรูปของประโยค ย่อหน้า หรือเป็นข้อความยาว 2-3 หน้าก็ได้

memoning เพื่อกระจ่างในความคิด เมื่อมีความคิดใหม่ผุดขึ้นมา เพื่อเชื่อมโยงข้อมูล เพื่อชี้ให้เห็นความแตกต่างจากรหัสเดิมที่มีอยู่

2.การนำเสนอข้อมูล

2.1 แนวทางการศึกษาเหตุการณ์ เลือกเหตุการณ์ทีจะช่วยให้เข้าใจจุดเน้นหลักของการวิจัย แล้วทำการศึกษาประวัติความเป็นมาของเหตุการณ์ และกระบวนการที่นำไปสู่เหตุการณ์นั้น

2.2 แผนภูมิบริบท แผนภูมิบริบทในรูปเครือข่าย ทำให้ช่วยดึงประเด็นสำคัญที่จะช่วยให้ผู้วิจัยนำมาวิเคราะห์ ตีความ เป็นการลดทอนข้อมูล ทำให้เรียบเรียงได้ง่ายขึ้น โดยใช้สัญลักษณ์มาประกอบและมีหลักเกณฑ์ในการใส่เครื่องหมาย

2.3 ตาราง/เครือข่ายเหตุการณ์ เป็นการนำเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นลำดับ ตัดเหตุการณ์ที่ไม่สำคัญออกไป นำเสนอในรูปตารางหรือเครือข่ายเหตุการณ์