คณะกรรมการกองทุน..... บทบาทเพื่อสมาชิก โดย นายธารทอง ไตรน รพงศ์ อุปนายกสมาคมกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
สมาชิกเลือกนโยบายลงทุนด้วยตนเอง นำเสนอต่อ
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
การดำเนินการ เพื่อกำหนดเป็นมาตรฐานให้บริษัทจัดการสามารถดำเนินธุรกิจในการจัดการกองทุนของตนด้วยความโปร่งใส และคำนึงถึงประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสำคัญ สำนักงานได้ออกประกาศที่
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
SMART Disclosure Program
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ และพัฒนาองค์กร
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
รู้จัก กบข..
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์

การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
Good Corporate Governance
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
ภาพแสดงกรอบการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะกรรมการกองทุน..... บทบาทเพื่อสมาชิก โดย นายธารทอง ไตรน รพงศ์ อุปนายกสมาคมกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ

คณะกรรมการกองทุน คือใคร ? กลุ่มบุคคลที่เป็นตัวแทนของสมาชิก ( นายจ้างและลูกจ้าง ) เพื่อมาทำหน้าที่บริหารจัดการ กองทุน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ของกองทุนที่ตั้งไว้

Fiduciary Duty 1.Duty of loyalty 2 Duty of care 3 Duty to monitor

Duty of loyalty (1) ไม่ตัดสินใจหรือกระทำการใดๆ ที่จะทำ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับ กองทุนหรือประโยชน์ของสมาชิก (2) มีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่หา ประโยชน์ส่วนตน รวมทั้งการไม่เรียกร้อง ประโยชน์ใดๆ ตอบแทนในทางมิชอบ

Duty of care ( 1) การพยายามระมัดระวังรักษาประโยชน์ ของสมาชิกและ กองทุนให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ (2) กำหนดวัตถุประสงค์ / นโยบายการ ลงทุนของกองทุน โดยคำนึงถึง - ความเหมาะสมกับปัจจัยองค์ประกอบ ต่างๆ ของ สมาชิกและของกองทุน - การกระจายความเสี่ยงของเงินลงทุน - ผลตอบแทนจากการลงทุน (3) คัดเลือกบริษัทจัดการ โดยมีการกำหนด แนวทาง การคัดเลือกที่เหมาะสม

Duty to monitor (1) ติดตามกำกับดูแลเพื่อให้มั่นใจได้ว่า บริษัทจัดการลงทุน ให้เหมาะสมเป็นไปตามนโยบายการ ลงทุนของกองทุน (2) กำหนด benchmark ผลตอบแทนจาก การลงทุน ( ตัวชี้วัด ) สำหรับเป็นเครื่องมือที่ใช้ วัดผลการดำเนินงาน ของกองทุนโดยอาจเป็นการหารือ ร่วมกันกับบริษัทจัดการ เพื่อกำหนดอัตราที่สมเหตุสมผล และ ยอมรับได้ ของทั้งสองฝ่าย (3) ควบคุมดูแลการตีราคาหลักทรัพย์ให้ เป็นไปอย่างเป็นธรรม

หน้าที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน งานบริหารจัดการทั่วไป งานบริหารเงินกองทุน งานสนับสนุนให้สมาชิกเลือกนโยบาย ลงทุนด้วยตนเอง งานจัดทำและแก้ไขข้อบังคับ งานสมาชิกสัมพันธ์

งานบริหารงานทั่วไป งานควบคุมและแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน งานจัดประชุม งานรับสมัครสมาชิกกองทุนและแจ้งสมาชิก เมื่อสิ้นสภาพ งานจัดทำทะเบียนสมาชิก งานควบคุมการรับ-จ่ายเงินกองทุน การจ่ายเงินออกเมื่อสมาชิกสิ้นสภาพ

งานบริหารเงินกองทุน งานคัดเลือกผู้จัดการกองทุน งานคัดเลือกผู้ดูแลทรัพย์สิน งานกำหนดนโยบายและกลยุทธ์การลงทุน งานกำกับและตรวจสอบการลงทุน

งานสนับสนุนให้สมาชิก เลือกนโยบายการลงทุน –ความสำคัญของการมี Employee's choice ให้สมาชิกได้มีส่วนร่วมในการเลือกรูปแบบในการ บริหารเงินกองทุน ลดแรงกดดันของคณะกรรมการกองทุนฯ –ขั้นตอนในการเปิดให้มี Employee's choice คณะกรรมการต้องกำหนดนโยบายและกลยุทธ์การจัดตั้ง ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่สมาชิกอย่างเพียงพอ และครอบคลุม จัดให้มีการเลือกรูปแบบการลงทุน ประเมินความเหมาะสมและรูปแบบที่ควรจะมี เตรียมการแก้ไขข้อบังคับ คัดเลือกผู้จัดการ พัฒนา ระบบงาน ให้สมาชิกแจ้งความประสงค์อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร แยกเงินกองทุน บริหารกองทุน

งานจัดทำและแก้ไขข้อบังคับ –ความสำคัญของข้อบังคับ –ผู้มีอำนาจในการแก้ไขข้อบังคับ –องค์ประกอบของข้อบังคับ –ขั้นตอนในการดำเนินการ

งานสมาชิกสัมพันธ์ –การเปิดเผยข้อบังคับ –การให้ความรู้ความเข้าใจแก่สมาชิก –การแจ้งผลการดำเนินงานกองทุน –การแจ้งสถานะเงินกองทุนฯเป็นรายสมาชิก –การให้ข้อมูลอื่นๆ

สมาคมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ –เป็นการรวมตัวของบรรดากองทุนสำรองเลี้ยงชีพภาครัฐวิสาหกิจและ เอกชน เพื่อเป็นศูนย์กลางการพัฒนาระบบการกองทุนฯ เผยแพร่ให้ ความรู้การบริหารจัดการกองทุน ประสานงานกับส่วนงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในและต่างประเทศปัจจุบันมีสมาชิกประมาณ 200 กองทุน มีขนาดของ NAV ทั้งระบบประมาณ 80% –บริหารงานในรูปคณะกรรมการจากผู้แทนกองทุนฯ และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 18 คน ปัจจุบัน มีดร. พิสิฐ ลี้อาธรรม เป็นนายกสมาคม –ประโยชน์กองทุนที่เป็นสมาชิก ได้ความรู้ ความเคลื่อนไหวในการ บริหารจัดการกองทุนผ่านวารสารสมาคม ฯ ข่าวสมาคม (ฟรี) เข้าร่วมสัมมนา (ฟรี) เข้ารับการอบรม (ลด 20%) ความช่วยเหลือ ในการจัดการกองทุน ฯลฯ –ค่าสมาชิก แรกเข้า (ฟรี) ค่าธรรมเนียมรายปี ปีละ 1,000 บาท –ติดต่อ : ที่ทำการ : 140/42 ซ. นาคสุวรรณ ถ.นนทรี เขตยานนาวา กทม. (10120) โทร : โทรสาร : Web site : AOP.OR.TH

ขอบคุณครับ