พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ ยาแผนปัจจุบัน ยาที่มุ่งหมายใช้ในการประกอบวิชาชีพ แผนปัจจุบัน ยาแผนโบราณ ยาที่มุ่งหมายใช้ในการประกอบวิชาชีพ แผนโบราณ
แบ่งตามความเข้มงวดในการควบคุมการจำหน่าย ยาควบคุมพิเศษ ยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็น ยาควบคุมพิเศษ ยาอันตราย ยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็น ยาอันตราย ยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ ยาสามัญประจำบ้าน ยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็น ยาสามัญ ประจำบ้าน ยาสมุนไพร ยาที่ได้จาก พืช, สัตว์ แร่ธาตุ, ซึ่งมิได้ผ่าน การบด ผสม ปรุง หรือแปรสภาพ
พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา 91 อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ เข้าไปในสถานประกอบการ ระหว่างเวลาทำการ เพื่อตรวจสอบควบคุมให้เป็นไปตาม พรบ. นำยาไปปริมาณพอสมควรเพื่อตรวจสอบหรือวิเคราะห์ ในกรณีมีเหตุอันสงสัย ว่ามีการกระทำผิด พรบ. อาจเข้าไปในสถานที่ใดๆเพื่อตรวจสอบ ยึด หรืออายัด อุปกรณ์ที่ใช้ฯได้ ประกาศผลการตรวจ ตามข้อ 2 ให้ประชาชนทราบโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา
ในกรณียาไม่ปลอดภัยให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเรียกเก็บหรือสั่งผู้ประกอบการเก็บยาของตนคืนภายในระยะเวลาที่กำหนด และมีอำนาจทำลายยาดังกล่าวได้ตามกฎกระทรวง มาตรา 92 ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ ต้องแสดง บัตรฯ เมื่อบุคคลที่เกี่ยวข้องร้องขอ
การตรวจสถานประกอบการ 1. วางแผนการตรวจ - ตรวจสอบเรื่องใด - แนวทางขั้นตอน ในการปฏิบัติงาน - ในกรณีจับกุมผู้กระทำความผิดให้ได้ทันท่วงที ต้องมีแผนสำรอง 2. แบ่งหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้เหมาะสม 3. ข้อมูลสถานประกอบการ - ตรวจครั้งสุดท้ายเมื่อไร ได้รับคำแนะนำให้แก้ไขปรับปรุงเรื่องใด - รายละเอียดการได้รับอนุญาตประกอบกิจการ - บุคลากรภายในร้าน - ประวัติการกระทำผิด ฝ่าฝืนกฎหมาย 4. การขอการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น
การออกปฏิบัติหน้าที่ ก่อนเข้าตรวจสถานประกอบการ - ต้องแนะนำตนเอง - แสดงบัตรพนักงานเจ้าหน้าที่ - แจ้งวัตถุประสงค์ในการตรวจ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ ควรมีบุคลิกลักษณะ ดังนี้ - แต่งกายเหมาะสม - แสดงกิริยาเป็นมิตร พูดจาสุภาพ ไม่แสดงกิริยาขู่เข็ญ
3. ต้องทราบบทบาทหน้าที่ตามกฎหมาย เป็นอย่างดี 3. 1 อำนาจการตรวจ 3. ต้องทราบบทบาทหน้าที่ตามกฎหมาย เป็นอย่างดี 3.1 อำนาจการตรวจ อำนาจตาม พ.ร.บ. ยา ให้ตรวจตรา “มิใช่ตรวจค้น” 3.2 อำนาจการยึด หรืออายัด 4. ปฏิบัติตามหลักวิชาการ 4.1 ปฏิบัติตามข้อบังคับของโรงงาน 4.2 การเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ตามหลักวิชาการ
การทำพยานหลักฐาน บันทึกการตรวจสถานประกอบการ บันทึกคำให้การของผู้ประกอบการ ตามข้อเท็จจริง - ใคร - ทำอะไร - ที่ไหน - อย่างไร - เมื่อไร - ทำไม บันทึกการเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์
4. บันทึกการยึด หรือ ยัด 5. บันทึกหลักฐานอื่นๆ - ใบอนุญาต - ทะเบียนพานิชย์ - บัตรประชาชน - แผ่นพับโฆษณา - ใบสั่งซื้อ/ ใบเสร็จรับเงิน 6. บันทึกภายถ่าย 7. บันทึกข้อเท็จจริง 8. กรณีการแก้ไข ต่อเติม ขีดฆ่าถ้อยคำ ข้อความให้ผู้ให้ถ้อยคำเซ็นชื่อกำกับ
A ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ ผลิตในประเทศ B ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ แบ่งบรรจุในประเทศ C ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ สั่งนำเข้า D ยาแผนปัจจุบันสำหรับสัตว์ ผลิตในประเทศ E ยาแผนปัจจุบันสำหรับสัตว์ แบ่งบรรจุในประเทศ F ยาแผนปัจจุบันสำหรับสัตว์ สั่งนำเข้า G ยาแผนโบราณสำหรับมนุษย์ ผลิตในประเทศ H ยาแผนโบราณสำหรับมนุษย์ แบ่งบรรจุในประเทศ K ยาแผนโบราณสำหรับมนุษย์ สั่งนำเข้า L ยาแผนโบราณสำหรับสัตว์ ผลิตในประเทศ M ยาแผนโบราณสำหรับสัตว์ แบ่งบรรจุในประเทศ N ยาแผนโบราณสำหรับสัตว์ สั่งนำเข้า
ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ สูตรผสม สั่งนำเข้า ลำดับที่ 555 ในปี 2539 1 A 523/29 ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ สูตรเดี่ยว ผลิตในประเทศ ลำดับที่ 523 ในปี 2529 2 C 555/39 ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ สูตรผสม สั่งนำเข้า ลำดับที่ 555 ในปี 2539
มาตรา 12 ขายยา นำหรือสั่งยาแผนปัจจุบันเข้าในราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับ อนุญาต โทษ มาตรา 101 จำคุกไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา 19 ขายยาแผนปัจจุบันไม่ตรงตามประเภทใบอนุญาต โทษ มาตรา 102 ปรับ 2,000 – 5,000 บาท มาตรา 72 (1) ยาปลอม โทษ มาตรา 117 3 ปีถึงตลอดชีวิต ปรับ 10,000 – 50,000 บาท (3) ขายยาเสื่อมคุณภาพ โทษ มาตรา 121 จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสามพันบาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ ขายโดยไม่รู้ว่าหมดอายุ ปรับไม่เกินสามพันบาท (4) ยาที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนตำรับ โทษ ตามมาตรา 122 จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
....สวัสดี.....