เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เข้าเมนู หลัก เข้าเมนู หลัก เข้าเมนู หลัก เข้าเมนู หลัก ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๕.
ครูที่ปรึกษา อ. สุทิน ขำการ
คำราชาศัพท์ จัดทำโดย นางสาวสมพร อ่อนละออ.
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมทางภาษา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง ข้าวสาลีมีความสำคัญต่อ
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การเพิ่มคำ.
การดู.
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
คำกริยา.
สำนวน.
บทร้อยกรอง.
เพลงพื้นบ้านในภูมิภาคตะวันตก
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
ความเห็นจากครูแพทย์ (เก่า) คนหนึ่ง
คำวิเศษณ์.
การศึกษาแบบพี่สอนน้อง (Teen as Teachers)
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
เทคนิคและกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน โดยประชาชนมีส่วนร่วม
แนวทางการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
ตอนที่ ๒ สำนวน คำพังเพย สุภาษิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
สื่อเพื่อส่งเสริม กระบวนการคิด
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การเขียน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ประเภทของวรรณกรรม.
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
การฟังเพลง.
องค์ประกอบของวรรณคดี
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
องค์ประกอบของบทละคร.
What is the Wisdom ?.
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
คาถาสำหรับนักพูด.
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาษาถิ่นใต้.
ภาษาถิ่นใต้.
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
กิจกรรมการสอนโดยใช้ “เพลง”
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า
ศาสนายิว ก. ความหมาย ๑. ยูดาร์ ภาษาอังกฤษว่า Judalism กรีกว่า Judai
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพลงกล่อมเด็กภาคใต้

ความหมายของเพลงกล่อมเด็ก เพลงกล่อมเด็กเป็นเพลงร้องเพื่อให้เด็กเกิดความเพลิดเพลินและนอนหลับไปด้วยความอบอุ่น เนื้อเพลงมักแสดงถึง ความรัก ความห่วงใยของแม่ที่มีต่อลูกหรือเป็นทำนองที่ สั่งสอน เพลงกล่อมเด็กบางเพลงยังสะท้อนให้เห็นสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ ความคิดและความเชื่อ(ประเทือง คล้ายสุบรรณ และคณะ ๒๕๑๒ : ๓๐)

เพลงกล่อมเด็กภาคใต้   เพลงกล่อมเด็กชาวใต้บางถิ่นเรียกว่าเพลงร้องเรือและเรียกการเห่กล่อมว่า ร้องเรือ แต่บางถิ่นเรียกว่าเพลงชาน้อง คำว่าชา มีความหมายว่า กล่อมขวัญ หรือสดุดี เช่น มีการชาขวัญข้าว (สดุดีแม่โพสพ) บางแห่งเรียกว่า เพลงน้องนอน ซึ่งหมายถึงเพลงกล่อมเด็กนั่นเอง แต่เพลงร้องเรือ กับเพลงเรือ นั้น หาเหมือนกันไม่

ฉันทลักษณ์ของเพลงกล่อมเด็กภาคใต้ เพลงกล่อมเด็กภาคใต้โดยมาก ๑ บท จะมี ๙ วรรค แต่ละวรรคมีคำตั้งแต่ ๔-๗ คำ แต่ก็มีบางบทที่บางวรรค มี ๓ คำ และบางวรรคมีเกิน ๗ คำ จนถึง ๑๐ คำ ขึ้นไปก็มีและบางบทอาจมีความยาวถึง ๓๐ วรรคหรือมากกว่านั้น

ฉันทลักษณ์ของเพลงกล่อมเด็กภาคใต้ ฮาเหอ...(ชื่อบท)...เหอ ๐๐...๗-๔คำ...๐ ๐๐...๗-๔คำ...๐ ๐๐...๗-๔คำ...๐ ๐...มักซ้ำกับวรรคที่ ๔..๐ ๐๐๐๐๐ เหอ (๐๐๐๐ เหอ...๐)

ตัวอย่างเพลงกล่อมเด็กภาคใต้

  ฮาเอ้อ คือแม่ เหอ คือแม่มิ่งฟ้า คู่บุญราชา แม่ของแผ่นดิน เมตตาอาทร ราษฎรทุกถิ่น อย่าให้ได้ยิน ที่ไหนลำบาก แม่ทรงประทาน โครงการไว้มาก เป็นสิ่งไม่ยาก ให้ลูกสืบสาน ลูกขอยอไหว้ ที่แม่ให้ทาน ปวงชนเบิกบาน เพราะบ้านมีแม่ เหอ

ประโยชน์จากเพลงกล่อมเด็ก เพลงกล่อมเด็กเป็นเหมือนกระจกเงาสะท้อนให้เห็นชีวิตความเป็นอยู่ของสังคมในแง่ต่าง ๆ เช่น ความเชื่อ ความคิดเห็น ภูมิปัญญา ภูมิธรรม ๒. เพลงกล่อมเด็กสะท้อนให้เห็นประเพณี วัฒนธรรม อันเป็นเครื่องปรุงแต่งสังคม และเห็นสภาพความเจริญทั้งทางด้านวัตถุและจิตใจ ซึ่งมักแทรกปนอยู่ในถ้อยคำ ที่นำมาเปรียบเทียบ ๓. เพลงกล่อมเด็กให้ความรู้เรื่องศัพท์ภาษาถิ่น สำนวนโวหารตลอดจนแนวทางแสดงความคิดออกมาอย่างมีศิลปะ เช่น การใช้โวหารในบทเพลงกล่อมเด็ก ให้ฟังได้รสทางภาษาเข้าใจง่าย ๔.เป็นการสืบทอดวรรณคดีมุขปาฐะให้คงอยู่สืบไป

สรุป เพลงกล่อมเด็กเป็นเพลงที่ใช้ขับกล่อมให้เด็กเกิดความเพลิดเพลิน จำนวนวรรคของเพลงกล่อมเด็กอาจมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ ความนิยมของแต่ละท้องถิ่นการเลือกสรรคำขึ้นต้นเพลงมักเอาสิ่ง ใกล้ตัวมาเกี่ยวโยงกับการดำเนินชีวิตทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม และถ้าใช้สัญลักษณ์ใดก็ตาม เมื่อเอาไปใช้อีกมักจะยังคงความหมายเดิมหรือความหมายที่ใกล้เคียงกันแต่อาจใช้คำที่ผิดเพี้ยนเนื่องจากสำเนียงในการพูดที่ต่างกันหรือจงใจแต่งขึ้นมาใหม่ก็อาจเป็นได้

จัดทำโดย นายอาณัฐ เพชรแก้ว นักศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี