แนวทาง การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ แนวทางการนำกรณีศึกษามาใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา เพื่อให้สามารถนำเอาความรู้และทฤษฎีต่างๆ ที่ได้เรียนประยุกต์ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง เพื่อช่วยให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะในการตัดสินใจ โดยการฝึกหัดผ่านการตัดสินใจในกรณีศึกษา เพื่อช่วยให้สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง กับทฤษฎีต่างๆ ที่เรียนมา
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา 4. เพื่อให้มีส่วนร่วมในการเรียน โดยผ่านการเสนอความคิดเห็นของตนเกี่ยวกับกรณีศึกษา และการพยายามทำให้ผู้อื่นยอมรับฟังความเห็นของตน 5. เพื่อพัฒนาความสามารถทางด้านการติดต่อสื่อสารสำหรับการประสานงานต่างๆ
แนวทางการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1. ศึกษาเหตุการณ์ด้วย 5 W 1 H 1. WHAT ==> อะไร 2. WHEN ==> เมื่อไร 3. WHERE ==> ที่ไหน 4. WHY ==> ทำไม 5. WHO ==> ใคร 6. HOW ==> ควรทำอย่างไร
2. ใช้เทคนิคที่มีอยู่วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆด้วย“แผนองค์การ” 2. ใช้เทคนิคที่มีอยู่วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆด้วย“แผนองค์การ” แผนการตลาด แผนการผลิต แผนการบริหารจัดการ แผนการเงิน
3. นำผลที่ได้จากการวิเคราะห์ ดูว่าสาเหตุของความสำเร็จในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักนำเอาข้อได้เปรียบที่เกิดขึ้นมาใช้ประโยชน์กับการศึกษาต่อไป
วิธีการนำเสนอ 1. การเขียนเป็นรายงาน 2. การนำเสนอหน้าชั้นเรียน 3. การแสดงละคร
แนวทางการนำกรณีศึกษามาใช้ประโยชน์ทางการศึกษา สามารถนำเหตุการณ์จริงมาปรับใช้กับทฤษฎีที่ได้เรียนมา ตัวอย่างเช่น
แนวทางการนำกรณีศึกษามาใช้ประโยชน์ทางการศึกษา (ต่อ) 1.การวิเคราะห์ในด้านการจัดการทั่วไป คือ การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) การสั่งการ (Directing) และการควบคุม (Controlling)
แนวทางการนำกรณีศึกษามาใช้ประโยชน์ทางการศึกษา (ต่อ) 2. การวิเคราะห์โดยการใช้หลัก 5’sM คือ Men, Materials, Money, Machine & Management
แนวทางการนำกรณีศึกษามาใช้ประโยชน์ทางการศึกษา (ต่อ) 3. การวิเคราะห์โดยใช้หลักด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ หรือด้านนโยบายธุรกิจเป็นแนวทางในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์การ คือ SWOT Analysis
แนวทางการนำกรณีศึกษามาใช้ประโยชน์ทางการศึกษา (ต่อ) 4. การวิเคราะห์โดยดูจากพฤติกรรมที่เกิดขึ้นของบุคคลต่างๆ ในองค์การนั้นๆ อย่างเช่น ทฤษฎีทางด้านภาวะผู้นำ ทฤษฎีในเรื่องการจูงใจ การสื่อสาร ผลประโยชน์ตอบแทน เป็นต้น
สรุป ในปัจจุบันการศึกษาโดยใช้กรณีศึกษาหรือการ ศึกษาดูงานเป็นที่นิยมมากขึ้นทุกที โดยเฉพาะสาขาการบริหารธุรกิจ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ เทคนิคหรือวิธีการวิเคราะห์ของแต่ละคนอาจจะไม่เหมือนกัน แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นไปในแนวทางเดียวกันแทบทั้งสิ้น
สรุป (ต่อ) ในการเรียนรู้ด้วยวิธีใช้กรณีศึกษาจะไม่มีผู้ใดถูกหรือผิด เพียงแต่ว่าผู้ใดสามารถวิเคราะห์และยกเหตุผลสนับสนุนความคิดของตนเองได้ดีกว่ากันเท่านั้น
สรุป (ต่อ) 3. กรณีศึกษาจะมีส่วนช่วยให้นักศึกษาสามารถนำเอาความรู้ความสามารถและทฤษฎีต่างๆ ที่ได้เรียนมานำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับเหตุการณ์จริงๆ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากโดยเฉพาะกับผู้ที่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการทำงานมาก่อน
กล้าทำในสิ่งที่แตกต่าง แปร “ ความเสียเปรียบ ” เป็น “ พลัง ” นำสู่ “ความมุ่งมั่นเพื่อชัยชนะ”
การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ จะประสบความสำเร็จ…ต้อง !!! กล้าที่จะเสี่ยง กล้าที่จะเป็นก้าวแรก กล้าที่จะทำแตกต่างจากผู้อื่น
สวัสดีค่ะ