ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
Advertisements

โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
การกระทำทางสังคม (Social action)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 วิชาภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ เข้าแถว
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
ความหมายของเครือข่าย
Physiology of Crop Production
รูปร่างและรูปทรง.
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
จิตวิทยาการบริหารทีมงาน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
Development องค์ประกอบทางพันธุกรรมและการพัฒนาชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
Cognitive Development
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
มนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด (Cognitive Theories) ของเพียเจท์
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
หลักการแก้ปัญหา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
กิจกรรมละลายพฤติกรรม
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๓ ENL 3701
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
ENL 3701 Unit 2 การอ่านคืออะไร
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development) ผศ.นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

พัฒนาการทางสติปัญญา (cognitive development) ความเจริญงอกงาม ด้านความสามารถ ในการคิด ของแต่ละบุคคล

พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิด พัฒนาขึ้นมาจากการมีปฏิสัมพันธ์ (interaction) กับสิ่งแวดล้อม เริ่มตั้งแต่แรกเกิด ผลของการปฏิสัมพันธ์จะทำให้เด็กรู้จัก “ตน” (self) เพราะตอนแรกเด็กจะยังไม่สามารถแยก “ตน” ออกจากสิ่งแวดล้อมได้

การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาและตลอดชีวิต ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุล (equilibrium)

การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม

กระบวนการปฏิสัมพันธ์ (interaction) ประกอบด้วย 2 กระบวนการ 1. กระบวนการดูดซึม (assimilation) 2. กระบวนการปรับโครงสร้าง (accommodation)

The learner is advanced through three mechanisms. 1. Assimilation กระบวนการดูดซึม - fitting a new experience into an exisiting mental structure(schema).   เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึมซาบ หรือดูดซึมประสบการณ์ใหม่ ให้รวมเข้าอยู่ในโครงสร้างของ สติปัญญา(Cognitive Structure) โดยจะเป็นการ ตีความ หรือการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม

2. Accomodation กระบวนการปรับโครงสร้าง - revising an exisiting schema because of new experience. การเปลี่ยนแบบโครงสร้างของเชาว์ปัญญาที่มีอยู่แล้วให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์ใหม่ หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดเดิมให้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมใหม่ ซึ่งเป็นความสามารถในการปรับโครงสร้างทางปัญญา

การปรับตัวเข้าสู่สภาวะสมดุลย์ระหว่างอินทรีย์และสิ่งแวดล้อม 3. Equilibrium - seeking cognitive stability through assimilation and accomodation. การปรับตัวเข้าสู่สภาวะสมดุลย์ระหว่างอินทรีย์และสิ่งแวดล้อม     

การดูดซึมเพื่อรับประสบการณ์ใหม่ การปรับโครงสร้างเป็นการปรับโครงสร้างความคิดเดิมให้สอดคล้องเหมาะสมกับประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับเข้ามา

ดังนั้น สติปัญญาจึงเกิดจากการปรับแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล การปรับแนวคิดและพฤติกรรมจะทำให้เกิดภาวะสมดุลแล้วเกิดเป็นโครงสร้างทางสติปัญญาขึ้น (cognitive structure) ดังนั้น สติปัญญาจึงเกิดจากการปรับแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล

Assimilation and Accommodation in Cognitive Development

Schemes of Learning

สรุปพัฒนาการสติปัญญา บุคคลต้องมีการปรับตัวซึ่งประกอบด้วยกระบวนการสำคัญ 2 อย่าง คือ การดูดซึมหรือซึมซาบเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญา (Assimilation) และ การปรับโครงสร้างทางสติปัญญา (Accomodation)

Piaget แบ่งพัฒนาการทางสติปัญญา 4 ขั้น ขั้นที่ 1 ขั้นประสาทสัมผัส (Sensorimotor Stage) ขั้นที่ 2 ขั้นเตรียมการ (Preoperation Stage) ขั้นที่ 3 ขั้นความคิดรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นที่ 4 ขั้นความคิดนามธรรม (Formal Operation Stage)

Comparing Erikson's and Piaget's Stages

ขั้นที่ 1 ขั้นประสาทสัมผัส (Sensorimotor Stage) อายุแรกเกิด – 2 ขวบ ส่วนใหญ่ใช้การรับรู้โดยอาศัยระบบประสาทสัมผัสทั้ง 5

ขั้นที่ 2 ขั้นเตรียมการ (Preoperation Stage) อายุ 2 – 7 ขวบ เกี่ยวกับการใช้ภาษา เด็กสามารถบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง เหตุการณ์และความรู้สึกได้ มักใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ในการเล่น

เด็กอายุ 2 – 4 ขวบ จะถือตนเองเป็นศูนย์กลาง (egocentric thought or egocentrism)

การเล่นเกมปิดตาซ่อนหา เด็กจะเข้าใจว่าคนที่ซ่อนนั้นหายไป

เด็กจะไม่เข้าใจในหลักความคงที่ (principle of conservation) ไม่เข้าใจในเรื่องปริมาณ จำนวนของวัตถุที่ไม่เปลี่ยนแม้รูปร่างจะเปลี่ยนจากลักษณะของบรรจุภัณฑ์

Children's Perception of Conservation of Liquid

ในขั้นเตรียมการ (Preperational Period) เด็กจะตอบว่าน้ำในกระบอกแก้ว ทรงสูงจะมีปริมาณมากกว่าน้ำในกระบอกแก้วทรงเตี้ย * ในขั้นความคิดรูปธรรม (Concrete Operational Period) เด็กจะตอบว่าปริมาณน้ำในกระบอกแก้ว C จะเท่ากับปริมาณน้ำในกระบอกแก้ว A

Children's Perception of Conservation of Mass

เด็กจะพัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับความคงที่ของจำนวน (number) มวล (mass) ความยาว(length) และพื้นที่(area)

ขั้นที่ 3 ขั้นความคิดรูปธรรม (Concrete Operation Stage) อายุ 7 – 12 ปี ใช้ความคิดเชิงเหตุผล เรื่องความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความคิดในมุมกลับหรือการคิดกลับไปกลับมาได้ (reversibility) รู้จักการคิดจัดประเภทและการจัดลำดับ

จัดกลุ่มวัตถุเข้าเป็นหมวดหมู่กันได้ เริ่มเข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ เข้าใจเรื่องปริมาณ ขนาดน้ำหนัก เรียนรู้เรื่องจำนวนและตัวเลขได้ง่ายขึ้น

ขั้นที่ 4 ขั้นความคิดนามธรรม (Formal Operation Stage) อายุ 12 ปี – ผู้ใหญ่ เข้าใจกฎเกณฑ์ของสังคมดีขึ้น มีความสามารถในการใช้เหตุผลในการตัดสินปัญหา การพัฒนาการทางด้านความคิดเป็นไปอย่างรวดเร็ว สามารถตีความหมายและทดสอบข้อพิสูจน์ต่าง ๆ ได้

มีความคิดรวบยอด (abstract) เข้าใจนามธรรม (formal) เข้าใจในหลักตรรกศาสตร์ (logical) เข้าใจการอนุมานและนำไปสู่การสรุปอย่างมีเหตุผลได้ (Hypothetical-deductive reasoning)