การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน การสร้างวินัยเชิงบวก
ขั้นตอนการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ขั้นตอนที่ 1 การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 2 การคัดกรอง 3 การส่งเสริมนักเรียน 4 การป้องกันและแก้ไขปัญหา 5 การส่งต่อ
การพัฒนานักเรียนโดยครูที่ปรึกษาและโรงเรียน ประกอบด้วย - การเสริมศักยภาพและการสร้างภูมิคุ้มกัน - การจัดการชั้นเรียน
การเสริมศักยภาพและการสร้างภูมิคุ้มกัน - ครูต้องเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น - ครูต้องมองเห็นด้านดีและมีความเชื่อมั่นใน ศักยภาพของนักเรียน - ครูต้องฝึกมองปัญหาในด้านบวก - สร้างทักษะชีวิตโดยใช้กิจกรรม Home room
การจัดการชั้นเรียน - ครูควบคุมตนเอง - ครูควบคุมตนเอง - สามารถควบคุมพฤติกรรมนักเรียน รายบุคคล - การควบคุมชั้นเรียน
การสร้างวินัยเชิงบวก การสร้างวินัย คือ การสอนหรือฝึกคนให้เชื่อฟังกฎระเบียบหรือแนวทางการปฏิบัติตนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
การลงโทษ - ลงโทษด้วยการใช้คำพูดด้านลบ การลงโทษ คือ การกระทำต่อผู้ที่ทำผิดระเบียบหรือมีความประพฤติไม่เหมาะสม การลงโทษมุ่งควบคุมพฤติกรรมโดยวิธีด้านลบ ซึ่งมักใช้ 2 แบบ - ลงโทษด้วยการใช้คำพูดด้านลบ - ลงโทษด้วยการทำให้เจ็บปวดรุนแรงทั้งทางร่างกายและจิตใจ เช่น การตีด้วยไม้เรียว
หลัก 7 ประการของการสร้างวินัยเชิงบวก เคารพศักดิ์ศรีของเด็ก พยายามพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ การมีวินัยในตนเองและบุคลิกลักษณะที่ดี พยายามให้เด็กมีส่วนร่วมมากที่สุด คำนึงถึงความต้องการทางพัฒนาการและคุณภาพชีวิตของเด็ก
คำนึงถึงแรงจูงใจและโลกทัศน์ของเด็ก พยายามให้เกิดความยุติธรรมเท่าเทียมกันและไม่เลือกปฏิบัติ เสริมสร้างความสามัคคีกลมเกลียวในกลุ่ม
เทคนิคพิเศษในการสร้างวินัยเชิงบวก พิจารณาให้มั่นใจก่อน อย่าเข้าใจนักเรียนผิด ชี้ให้เห็นด้านบวก ปฏิบัติต่อนักเรียนด้วยท่าทีที่ให้เกียรติเสมอ สื่อความคาดหวังของท่านให้นักเรียนทราบอย่างชัดเจนและด้วยท่าทีที่ให้เกียรติ ใช้อารมณ์ขันและการหันเหความสนใจ
สร้างความร่วมมือเชิงรุก เสนอทางเลือกที่จำกัด ปล่อยให้นักเรียนได้รับผลจากการกระทำของตนเอง อย่าโมโหเมื่อนักเรียนดื้อ ให้ความสำคัญกับความพยายาม