สัณฐานและโครงสร้างของโลก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำแนะนำ : กรุณาคลิกที่ปุ่มด้านบนเพื่อเข้าสู่หน้าหลักของโปรแกรม หรือหากต้องการออกจากโปรแกรม ให้กดปุ่ม Esc.
Advertisements

จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
ชนิดของหินโดยประมาณ พบเป็น โดยรวมหินแปรไว้ในหินต้นกำเนิดเหล่านี้แล้ว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
(Structure of the Earth)
and Sea floor spreading
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
เปลือกโลก(crust) ประกอบด้วย Oxygen 45.2 ซิลิกอน 27.2 อลูมิเนียม 8.2
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การใช้เครื่องมือจับพิกัด GPS และ การใช้แผนที่เพื่อการจัดเก็บข้อมูล โดย ดร.ณัฐ มาแจ้ง นายไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
หมีขั้วโลก.
ตราด.
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
ดินถล่ม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
ภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก
โลก (Earth).
ดวงจันทร์ (Moon).
โลกและการเปลี่ยนแปลง
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ดาวเสาร์ (Saturn).
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ
ผู้หาข่าว  นายสีชาด หนุน พระเดช ข่าวความเป็นมา  ศูนย์กลางแผ่นดินไหวห่างจากกรุง ปอร์โตแปรงซ์ เมืองหลวงของประเทศไปราว 25 กิโลเมตร ( หรือ 16 ไมล์ ) โดยแผ่นดินไหว.
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
Class Polyplacophora.
โลกและสัณฐานของโลก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัณฐานและโครงสร้างของโลก โลก (EARTH) สัณฐานและโครงสร้างของโลก

สัณฐานและโครงสร้างของโลก

สัณฐานของโลก โลก มีรูปทรงสัณฐานเกือบเป็นทรงกลมลักษณะรูปทรงของโลก จากการศึกษาของนักดาราศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ และนักสำรวจ พบว่าโลกมีรูปทรงแบบ ทรงรีที่ขั้วทั้งสองยุบตัวลง (Oblate Ellipsoid) หรือเราเรียกว่าทรงรีแห่งการหมุน เนื่องมาจากสภาวะของโลกที่หนืด เมื่อโลกหมุนรอบตัวเองทำให้เกิดแรงเหวี่ยง และทำให้เกิดการยุบตัวบริเวณขั้วโลกเหนือ และขั้วโลกใต้ และป่องตัวออกบริเวณส่วนกลางหรือเส้นศูนย์สูตร สามารถสังเกตได้จากความยาวของเส้นศูนย์สูตร ที่มีความยาว 12,757 กิโลเมตร (7,927 ไมล์) และระยะทางจากขั้วโลกเหนือมาขั้วโลกใต้มีความยาว 12,714 กิโลเมตร (7,900 ไมล์) ซึ่งมีความแตกต่างกัน 43 กิโลเมตร (27 ไมล์) รูปทรงแบบ ยีออยด์ (Geoid) เป็นไปตามสภาพพื้นผิวโลกที่มีความขรุขระสูงต่ำดังนั้นส่วนที่เป็นภาคพื้นทวีปจะมีลักษณะนูนสูงจึงต้องมีการปรับลักษณะพื้นผิวโลกเสียใหม่ โดยใช้แนวของพื้นผิวของระดับน้ำทะเลตัดผ่านเข้าพื้นดินที่มีระดับเท่ากันกับรูปทรงโลก เรียกว่า รูปทรงของโลกแบบยีออยด์

โครงสร้างของโลก โครงสร้างหลักแบ่งได้ 3 ส่วน เปลือกโลก (crust) โครงสร้างหลักแบ่งได้ 3 ส่วน เปลือกโลก (crust) เปลือกโลกชั้นใน(mantle of earth) แก่นโลก(core)

เปลือกโลก (crust) เปลือกโลก คือ ส่วนที่เป็นของแข็งชั้นนอกสุดของโลกมีความหนาเฉลี่ย 16-40 กิโลเมตร ประกอบด้วยเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีป และส่วนที่เป็นมหาสมุทร ส่วนบริเวณมหาสมุทรมีความหนาประมาณ 8-16 กิโลเมตร และบางแห่งมีความหนาเพียง 5 กิโลเมตร ประกอบด้วย 2 ชั้นย่อย ได้แก่ -ชั้นไซอัล(sial) -ชั้นไซมา(sima)

ชั้นไซอัล(sial) ชั้นไซอัล ประกอบด้วยธาตุซิลิคอน และอลูมินัมเป็นส่วนประกอบหลัก พบทั่วไปบริเวณเปลือกโลกที่เป็นทวีป โดยมีหินแกรนิตเป็นส่วนประกอบหลัก

ชั้นไซมา(sima) ชั้นไซมา ประกอบด้วยธาตุซิลิคอน และ แมกนีเซียมเป็นส่วนประกอบหลัก พบทั่วไป บริเวณเปลือกโลกที่เป็นพื้น สมุทรตอนล่างของเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีปและบริเวณรอยแตกของเปลือกโลกที่เป็นภูเขาไฟ หินบะซอลต์พบมากที่สุด

เปลือกโลกชั้นใน (mantle of earth) เปลือกโลกชั้นใน คือ ชั้นที่อยู่ใต้ชั้นเปลือกโลกลงไป มีความหนา ประมาณ 2,895 กิโลเมตร เนื่องจากเป็นชั้นที่มีความร้อนสูงและมี ความกดดันมาก ทำให้ชั้นหินส่วนใหญ่อยู่ในสถานะของแข็ง ยกเว้นชั้น แอสเทโนสเฟียร์ที่มีความลึกประมาณ 100-350 กิโลเมตร มีความแข็ง น้อยกว่าและมีความหนืดมากกว่าบริเวณอื่น มีความร้อนสูงและเคลื่อนตัว ตลอดเวลา ชั้นเปลือกโลกจึงมีการไหวตัวอยู่เสมอ ทำให้มีแผ่นดินไหว และภูเขาไฟระเบิด โดยเฉพาะบริเวณรอยต่อของชั้น เปลือกโลก ที่มีการ แทรกดันหรือจมตัวของหินหนืดอย่างรุนแรง

แก่นโลก (core) ส่วนของโลกชั้นในสุดมีรัศมีประมาณ 3,476 กิโลเมตร แบ่งย่อยได้ 2 ชั้น แก่นโลกส่วนนอก (outer core) ประกอบด้วยหินเหลวพวกเหล็ก มี ความหนาแน่นสูง แก่นโลกส่วนใน (inner core) มีรัศมีประมาณ 1,255 กิโลเมตร ประกอบ ด้วย เหล็กและนิเกิล ในสภาพที่ ร้อนจัดอาจมีอุณหภูมิสูงถึง 4,000 องศาเซลเซียส และอยู่ในสถานะของแข็ง เนื่องจากมีความหนาแน่นสูง

the and