งบลงทุน Capital Budgeting

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
Advertisements

การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Graduate School Khon Kaen University
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การบันทึกรายการปรับปรุง
บทที่ 1 อัตราส่วน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
Financial Management.
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
มูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
หลักสูตรสู่ความสำเร็จใน 90 วัน
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
การวางแผนการผลิต และการบริการ
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การรวมธุรกิจ.
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งบลงทุน Capital Budgeting บทที่ 8 งบลงทุน Capital Budgeting

งบลงทุน (Capital Budgeting) คือ แผนการใช้จ่ายลงทุนในสินทรัพย์ถาวร และขั้นตอนการวิเคราะห์โครงการลงทุนของกิจการ

งบลงทุน (Capital Budgeting) E.g. ถ้ากิจการต้องตัดสินใจว่าจะซื้อเครื่องจักรใหม่ที่มีราคา 500000 บาท หรือไม่ เราจะตัดสินใจอย่างไร ดูว่าเครื่องจักรนี้สามารถทำกำไรได้หรือไม่? ดูจากอัตราผลตอบแทนของการลงทุน?

ขั้นตอนในการพิจารณาจัดทำงบลงทุน คัดเลือกโครงการหรือข้อเสนอรายจ่ายลงทุน ประมาณกระแสเงินสดแต่ละโครงการ ประเมินค่ากระแสเงินสดแต่ละโครงการ การเลือกโครงการที่ได้ผลตอบแทนดีที่สุด ติดตามและประเมินผลโครงการ

ประเภทโครงการลงทุน โครงการผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ หรือขยายผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิม โครงการจัดหาสินทรัพย์ใหม่มาทดแทนสินทรัพย์เก่า โครงการวิจัยและพัฒนา โครงการสำรวจ โครงการอื่น ๆ

การประมาณการกระแสเงินสด การประมาณกระแสเงินสด ถือว่าเป็นงานที่สำคัญที่สุดของการทำงบลงทุน การตัดสินใจในการลงทุนในโครงการต่างๆ ต้องพิจารณาผลประโยชน์จากการลงทุนนั้นๆ ซึ่งการพิจารณาจะดูเฉพาะรายได้และรายจ่ายที่เป็นเงินสดในโครงการที่ตัดสินใจลงทุน

กระแสเงินสดจ่ายเงินลงทุนสุทธิ จำนวนเงินสดจ่ายทั้งสิ้นเพื่อให้ได้มาเพื่อสินทรัพย์ที่ใช้ดำเนินงานตามโครงการ ซึ่งคำนวณได้ดังนี้ กรณีซื้อสินทรัพย์ใหม่เข้ามาในกิจการ กรณีซื้อสินทรัพย์ใหม่และขายสินทรัพย์เดิม ซึ่งกรณีนี้จะมีกำไรหรือขาดทุนจากการขายสินทรัพย์เดิม ซึ่งจะได้รับผลกระทบด้านภาษี กรณีนำสินทรัพย์เก่าไปแลก เงินทุนหมุนเวียน เงินลงทุนเพิ่มเติม

กระแสเงินสดรับสุทธิ รายได้ที่ได้รับจากการขายสินค้าหรือบริการจากการลงทุน รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการลงทุน

ขั้นตอนในการจัดทำงบลงทุน กำหนดเป้าหมายของธุรกิจ รวบรวมโครงการลงทุน วิเคราะห์กระแสเงินสด ประเมินโครงการ การเลือกโครงการ ติดตามและประเมินผลโครงการ

เครื่องมือที่ใช้วัดโครงการ วิธีอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (ARR) วิธีระยะเวลาคืนทุน(PB) วิธีอัตราผลตอบแทนคิดลด หรืออัตราผลตอบแทนจากการลงทุน(IRR) วิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ(NPV) วิธีดัชนีกำไร(PI)

วิธีอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย วิธีอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย ARR = กำไรสุทธิหลังภาษีเฉลี่ย เงินลงทุนเฉลี่ย โดยที่ กำไรสุทธิเฉลี่ยต่อปี = ผลรวมกำไรสุทธิตลอดอายุโครงการ อายุโครงการ เงินลงทุนสุทธิเฉลี่ย = เงินลงทุนเริ่มแรก – มูลค่าซาก 2

วิธีอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย ARR: การตัดสินใจ - ถ้าอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ จะยอมรับโครงการนั้น - ถ้าอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ยน้อยกว่าอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ จะปฏิเสธโครงการนั้น

ข้อดีข้อเสียของวิธีอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย จัดทำง่าย เพราะใช้ข้อมูลทางบัญชี ถ้าอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ยสามารถเปรียบเทียบกับอัตราผลตอบแทนที่ต้องการได้ ข้อเสีย ใช้กำไรสุทธิทางบัญชีแทนเงินสด ไม่คำนึงถึงค่าของเงินตามเวลา สรุป : ไม่เป็นที่นิยม

วิธีระยะเวลาคืนทุน (Payback Period: PB) คือระยะเวลาที่กิจการจะได้รับเงินกลับคืนมาเท่ากับจำนวนเงินลงทุน ซึ่งวิธีนี้จะวัดว่าโครงการลงทุนจะได้รับเงินกลับมาเร็วหรือช้าอย่างไร ระยะเวลาคืนทุน= เงินลงทุนสุทธิเริ่มแรก เงินสดรับสุทธิแต่ละปี

วิธีระยะเวลาคืนทุน (Payback Period: PB) 2. การคำนวณหาระยะเวลาคืนทุนเมื่อกระแสเงินสดรับในแต่ละปีไม่เท่ากัน ตัวอย่าง 8.5 ปีที่ เงินสดรับสุทธิ เงินสดรับสุทธิสะสม 1 50,000 50,000 2 50,000 100,000 3 60,000 160,000 4 80,000 240,000 5 40,000 280,000

ข้อดีข้อเสียของวิธีระยะเวลาคืนทุน คำนวณง่าย เหมาะกับโครงการที่ต้องการประเมินโดยวิธีการหาระยะเวลาคืนทุน ข้อเสีย ไม่คำนึงถึงกระแสเงินสดรับสุทธิที่จะได้รับ ไม่คำนึงถึงค่าของเงินตามเวลา ไม่คำนึงผลกำไร

การประเมินค่าโครงการลงทุนที่คำนึงถึงค่าของเงินตามเวลา คือวิธีที่มีการคิดลดค่ากระแสเงินสดในอนาคตให้เป็นค่าปัจจุบัน โดยใช้หลักว่าเงินสดในอนาคตจะนำมาเปรียบเทียบกับปัจจุบันไม่ได้ ถ้ายังไม่ทำให้เป็นค่าปัจจุบัน

การประเมินค่าโครงการลงทุนที่คำนึงถึงค่าของเงินตามเวลา มีหลายวิธี ได้แก่ วิธีระยะคืนทุนที่มีการปรับลด (Discounted Payback Period: DPB) วิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value: NPV) วิธีดัชนีการทำกำไร (Profitability Index: PI) วิธีอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (Internal Rate of Return) และ วิธีอัตราผลตอบแทนที่แท้จริงที่มีการดัดแปลง (Modified Internal Rate of Return)

วิธีระยะคืนทุนที่มีการปรับลด (Discounted Payback Period: DPB) คือ ระยะเวลาที่กิจการจะได้รับเงินกลับคืนมาเท่ากับจำนวนเงินลงทุน โดยวิธีนี้จะแก้ข้อเสียของวิธีระยะคืนทุนที่ไม่คำนึงถึงค่าของเงินตามเวลา หามูลค่าปัจจุบันตั้งแต่ปีที่ 1 และสะสมที่ทำให้มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับพอดี

วิธีอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (Internal Rate of Return) คือ อัตราผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุน ซึ่งเป็นอัตราคิดลดที่จะทำให้มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตเท่ากับเงินลงทุนเริ่มแรกหรือเงินสดจ่ายลงทุนสุทธิ คำนวณโดยวิธีลองผิดลองถูก (Trial and Error)

วิธีอัตราผลตอบแทนที่แท้จริงที่มีการเปลี่ยนแปลง (Modified Internal Rate of Return) ที่อัตราส่วนลด 20 % ค่าปัจจุบันของเงินรวมในปีสุดท้าย = 903,000 x PVIF20%,3 = 903,000 x .5787 = 522,566.10 ที่อัตราส่วนลด 24 % ค่าปัจจุบันของเงินรวมในปีสุดท้าย = 903,000 x PVIF24%,3 = 903,000 x .5245 = 477,623.50

วิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value: NPV คือผลต่างระหว่างมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิแต่ละปีตลอดอายุโครงการ กับมูลค่าปัจจุบันของเงินสดจ่ายลงทุน ณ อัตราค่าของเงิน NPV = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ – เงินลงทุนเริ่มแรก การตัดสินใจ ถ้า NPV เป็นบวกจะยอมรับโครงการ ถ้า NPV เป็นลบจะยอมรับโครงการ ถ้าเป็นบวกเท่ากันให้เลือกโครงการที่มีค่ามากที่สุด

วิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value: NPV คำนวณได้ 2 วิธี เมื่อกระแสเงินสดสุทธิเท่ากันทุกปี PVA = A (PVIFA i,n) เมื่อกระแสเงินสดสุทธิแต่ละปีไม่เท่ากัน PV = FV (PVIF i,n)

วิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value: NPV ตัวอย่าง เงินลงทุนเริ่มแรกเท่ากับ 800,000 ค่าของทุนเท่ากับ 15% ปี โครงการ ก. โครงการ ข. 1 400,000 600,000 2 400,000 100,000 3 400,000 300,000

วิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value: NPV โครงการ ก. NPV = 400,000 (2.2832) – 800,000 = 113,280 โครงการ ข. NPV = 600,000(.8696) + 100,000(.7561) + 300,000(.6575) – 800,000 = (5,380) เลือกโครงการ . . .

วิธีดัชนีการทำกำไร (Profitability Index: PI) คืออัตราส่วนระหว่างมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิกับเงินลงทุนเริ่มแรก ดัชนีการทำกำไร = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ เงินลงทุนเริ่มแรก การตัดสินใจ ถ้า PI มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 1 จะยอมรับ ถ้า PI มีค่าน้อยกว่า 1 จะปฏิเสธ

วิธีดัชนีการทำกำไร (Profitability Index: PI) 800,000 = 1.1416 โครงการ ข. PI = 794,620 = .9933 เลือกโครงการ . . .

ข้อดีและข้อเสีย วิธีอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย ง่ายและสะดวกต่อการประเมินผล ไม่ต้องพิจารณากระแสเงินสดรับของแต่ละปี และไม่คำนึงถึงมูลค่าปัจจุบันหรือค่าเงินตามเวลา วิธีระยะเวลาคืนทุน พิจารณาเฉพาะระยะเวลาที่จะคืนทุนของแต่ละโครงการเท่านั้น ไม่คำนึงถึงมูลค่าปัจจุบัน และกระแสเงินสดรับแต่ละปี วิธีอัตราผลตอบแทนคิดลด ทั้ง IRR, NPV และ PI จะคำนึงถึงเงินสดรับและจ่ายสุทธิแต่ละปีตลอดอายุของโครงการและ ค่าเงินตามเวลา

การตัดสินใจเลือกโครงการลงทุน โครงการที่เป็นอิสระต่อกัน โครงการที่ขึ้นต่อกัน โครงการที่มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกัน

งานบทที่ 8 อธิบายถึงความสำคัญของการจัดทำงบลงทุนที่มีต่อธุรกิจ ประเภทของโครงการที่ลงทุน มีกี่ประเภท อะไรบ้าง ในการตัดสินใจลงทุนโครงการหนึ่งต้องคำนึงถึงด้านใดบ้าน และมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง เครื่องมือที่ใช้วัดโครงการมีอะไรบ้าง อธิบายพอเข้าใจ แต่ละวิธีมีข้อดีและข้อเสียอย่างไรบ้าง ลักษณะของโครงการลงทุนกับการตัดสินใจเลือกโครงการลงทุน แบ่งออกเป็นกี่ลักษณะ อะไรบ้าง หมายเหตุ นักศึกษาท่านใดที่มีงานค้างส่ง ตั้งแต่บทที่ 1- 7 ติดตามส่งภายใน