สีผสมอาหาร Group’s Emblem.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
น.ส กานต์ดา ทำไร่ เลขที่43 ม.6/4 น.ส จิติมา คุ้มแก้ว เลขที่46 ม.6/4
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โครงงานสุขภาพ วิชาสุขศึกษา เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
การสร้างเว็บไซต์ เรื่อง วิธีการใช้ Photo Shop
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
1. นางสาววิลาสินี หงษ์ทอง
สารเมลามีน.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การจำแนกชนิดผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การตรวจสอบและการพิจารณานำเข้ายา
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
ภาวะไตวาย.
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ความเสี่ยงอันตรายจาก
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
กินตามกรุ๊ปเลือด.
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
Tonsillits Pharynngitis
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
สารปรุงแต่งอาหาร.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
เด็กหญิง พัชราพร แก้วห่อทอง ชั้น ม. 2/9 เลขที่ 33
หลักการเลือกซื้ออาหาร
หนังสืออิเลคทรอนิคส์ เรื่อง … หนังสืออุทยานการเรียนรู้ PK Park Thailand วิชา …. ความรู้ทั่วไป ชุดที่ ๑ โรงเรียนบ้านเป้า ต. บ้านฟ้า อ. บ้านหลวง จ. น่าน.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สีผสมอาหาร Group’s Emblem

สมาชิก ด.ช. กันต์กวิน รอดแช่ม ม.๓/๓ เลขที่ ๑ นาย ธนาพล เลิศศิวภร เลขที่ ๗ วศิน คู่คิด เลขที่ ๑๓ ด.ญ. เฉลิมขวัญ นักฆ้อง เลขที่ ๑๙ ถิรอร อรุณ เลขที่ ๒๕ นิธิมา สาทิพย์จันทร์ เลขที่ ๓๑ ฟาริดา เรืองผึ้ง เลขที่ ๓๗ สโรชา ทำทา เลขที่ ๔๓

ที่มาและความสำคัญ เนื่องจากอาหารเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เราจึงควรที่จะรู้ว่าอาหารที่เรารับประทานนั้นมีความสะอาดหรือไม่ แล้วสีผสมอาหารที่มีทั่วไปในอาหาร ขนม ตลอดจนถึงเครื่องดื่มนั้น ว่ามีโทษต่อร่างกายของเราหรือไม่ เราจึงสร้างสื่อเว็บไซต์เรื่องสีผสมอาหารเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับที่มา ความสำคัญ การผลิต ประเภท คุณ และโทษของสีผสมอาหาร เพื่อไม่ให้ได้รับอันตรายจากสีผสมอาหาร สามารถบริโภคอย่างรู้เท่าถึง และไม่เกินความจำเป็น

วัตถุประสงค์. ๑. เพื่อสร้างเว็บไซต์เรื่อง สีผสมอาหาร. ๒ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสร้างเว็บไซต์เรื่อง สีผสมอาหาร ๒. เพื่อศึกษาการสร้างเว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Google site  ๓. เพื่อศึกษาเรื่องสีผสมอาหาร  

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. เพื่อสร้างเว็บไซต์ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องสีผสมอาหาร ๒. เพื่อศึกษาการสร้างเว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Google site ๓. เพื่อให้ผู้เข้าชมเว็บไซต์ได้รู้ถึงคุณ และโทษของสีผสมอาหาร

สีผสมอาหาร สีผสมอาหารภัยใกล้ตัวที่มากับความสวยงาม ในปัจจุบันจะพบว่าทั้งอาหารสด อาหารสำเร็จรูป และเครื่องดื่มต่างๆที่ขายอยู่ทั่วไป มักมีสีสันสวยงาม ชวนรับประทาน แต่แฝงไว้ด้วยอันตราย เนื่องจากผู้ผลิต มักใส่สีสังเคราะห์ทางเคมีลงไปโดยคาดหวังว่า อาหาร และเครื่องดื่มที่มีสันสดใสสวยงามจะเป็นที่ดึงดูดความสนใจ ของผู้บริโภคได้ดี โดยเฉพาะเด็กๆ ซึ่งจะช่วยให้ ขายดี ได้กำไรมาก ทำให้มองข้ามพิษภัย ที่อาจจะเกิดอันตราย ดังนั้นในการเลือกซื้อ อาหาร และเครืองดื่มจำเป็นต้องคำนึงถึง อันตรายที่อาจเกิดจากสีผสมอาหารให้มากๆ และควรเลือกสีผสมอาหารที่ปลอดภัยที่สุด

สีผสมอาหารมีกี่ประเภท  ตามกฎหมายได้กำหนดสีที่อนุญาตให้ใช้ผสมอาหารได้ 3 ประเภท คือ สีอินทรีย์ ที่ได้จากการสังเคราะห์ ได้แก่ สีผสมอาหาร  สีอนินทรีย์ เป็นสีที่ได้จากสิ่งไม่มีชีวิตในธรรมชาติ เช่นผงถ่านที่ได้จากการเผากาบมะพร้าว เกลือ ทองแดง เป็นต้น  สีธรรมชาติ ได้จากการสกัดพืช สัตว์ เช่น  สีเขียว..........จากใบเตย  สีแดง...........จากครั่ง กระเจี๊ยบ มะเขือเทศ พริกแดง  สีเหลือง........จากขมิ้นไข่แดง ฟักทอง  สีน้ำเงิน........จากดอกอัญชัน เป็นต้น

อันตรายจากสีผสมอาหาร ด้านผู้ผลิต ใช้สีจากธรรมชาติใส่ในอาหาร ใช้สังเคราะห์ทางเคมีเฉพาะ "สีผสมอาหาร" เท่านั้น โดยใช้ในปริมาณที่กำหนด คือ 1 มิลลิกรัม ต่อ อาหาร 1 กิโลกรัม ในการเลือกซื้อ สีผสมอาหาร ต้องสังเกตข้อความบนฉลากดังนี้ มีคำว่า " สีผสมอาหาร" ชื่อสามัญของสี เลขทะเบียนอาหารของสีในเครื่องหมาย อย. ปริมาณสุทธิ ชื่อ และ ที่ตั้งของสถานที่ผลิต ด้านผู้บริโภค เลือกซื้ออาหาร และเครื่องดื่มที่ไม่ใส่สี ถ้ามีสีควรเป็นสีอ่อน ๆ หรือ สีธรรมชาติ ถ้าซื้อขนม อาหาร หรือเครื่องดื่มใส่สีที่บรรจุในภาชนะปิดสนิท ต้องมีเลขทะเบียน ตำรับอาหาร หรือ เลขที่อนุญาตฉลากอาหาร

อันตรายส่วนใหญ่เกิดจากสีสังเคราะห์ทางเคมีซึ่งผู้ผลิตบางคนมักใช้สีย้อมผ้า หรือสีย้อมกระดาษ ซึ่งมีโลหะหนักพวก ตะกั่ว ปรอท สารหนู สังกะสี โครเมียม ปะปนอยู่ซึ่งทำให้เกิดผลต่อร่างกาย ดังนี้ - ตะกั่ว ระยะแรก จะทำให้ร่างกายอ่อนเพลียเบื่ออาหารปวดศีรษะ โลหิต จาง ถ้าสะสมมากขึ้นจะมีอัมพาตที่แขน ขา เพ้อ ชักกระตุก หมดสติ - ปรอท กรณีเฉียบพลัน จะมีอาการคลื่นไส้ ท้องเดิน ปวดมวนท้องรุนแรง ถ้าสะสมเรื้อรัง เหงือกจะบวม แดงคล้ำ ฝันตาย เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย - สารหนู จะเกิดพิษต่อระบบทางเดินอาหาร ทำให้ผิดปกติ ตับอักเสบ หัวใจวาย - โครเมียม ถ้าสะสมในร่างกายเกินขนาดจะเกิดอาการเวียน ศีรษะ กระหายน้ำรุ่นแรงอาเจียน หมดสติ และ เสียชีวิต เนื่องจากไตไม่ทำงาน ปัสสาวะเป็นพิษ

อาหารที่ห้ามใส่สี  อาหารทารก  ทอดมัน  กะปิ  ข้าวเกรียบ  แหนม  ไส้กรอก  ลูกชิ้น หมูยอ นมดัดแปลงสำหรับเด็ก  อาหารเสริมสำหรับเด็ก  ผลไม้สด  ผักดอง ชนิดที่ปรุงแต่งทำให้เค็มหรือหวาน  เนื้อสัตว์ทุกชนิด ที่ปรุงแต่ง รมควัน ทำให้แห้ง  เนื้อสัตว์สดทุกชนิด ยกเว้น ไก่  เนื้อสัตว์ทุกชนิดที่ปรุงแต่งทำให้เค็มหรือหวาน  ผลไม้ดอง 

เอกสารอ้างอิง http://www.bkps.ac.th. (๒๓ ม.ค. ๒๕๕๓). “สีผสมอาหาร.” สืบค้นเมื่อวันที่ ๕ ม.ค. ๒๕๕๕ , www.bkps.ac.th/a06_Education/63Education.htm

THE END