: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
Advertisements

การมีส่วนร่วมทางการเมือง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
สรุปวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society) รศ. น. ท. ดร
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
สังคมศึกษา.
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM)
ประเภทลัทธิทางการเมือง
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
สัปดาห์ที่ 4.
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
การเลือกตั้ง (Election)
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
นโยบายและการขับเคลื่อน
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
YOUR SUBTITLE GOES HERE
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
วิถีชีวิตประชาธิปไตย
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ในการพัฒนาการศึกษา เน้น “ ความเท่าเทียมกัน ” และ การนำ “ เทคโนโลยี ” มาใช้ใน การจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน “ ที่มีคุณภาพ สำหรับเยาวชนทุกคน ทุกพื้นที่ ”
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
ที่มา และแนวคิดสิทธิมนุษยชนใน อารยธรรมไทย รับผิดชอบโดย อ. ทศพลทรรศนกุลพันธ์
เพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education)
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
การประชุมกลุ่มย่อยที่ 3 “บทบาทด้านงบประมาณของรัฐสภา”
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
บทบาทด้านนิติบัญญัติ
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
จุดเน้นวิชาประวัติศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

196-308 : ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์ ทฤษฎีการเมืองของ อริสโตเติล ล็อค เบนเธม มิลล์ และต๊อควิลล์ โครงสร้างและหน้าที่ของรัฐในปัจจุบัน เช่น ในประเทศสหรัฐอเมริกา และอังกฤษ การปกครองตามอุดมการณ์ประชาธิปไตย การรับผิดชอบของรัฐต่อประชาชน ประโยชน์นิยม การถ่วงดุลอำนาจ

สิทธิประชากร เสรีภาพ และศีลธรรม ข้อดีและข้อจำกัดของทฤษฎีดังกล่าว ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ

นิยามตามที่มาและขอบเขตของอำนาจ นิยามตามที่เน้นเรื่องสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาค นิยามที่เน้นการเข้ามีส่วนร่วมหรือเสียงของประชาชน

นิยามที่เน้นเจตนารมณ์ของประชาชน สรุป 1. ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นอุดมการณ์ทางการเมือง

เชื่อว่ามนุษย์มีความสามารถ หลักเสรีภาพ หลักความเสมอภาค

2.ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นรูปแบบการปกครอง หลักอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน หลักอำนาจอธิปไตยโดยปวงชน หลักอำนาจอธิปไตยเพื่อปวงชน

หลักเหตุผล หลักความยินยอม หลักเสียงข้างมาก หลักประนีประนอม

หลักความเสมอภาค หลักเสรีภาพ หลักการปกครองตนเอง

3. ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นวิถีชีวิต ใช้เหตุผลในการตัดสินปัญหา มีน้ำใจประชาธิปไตย มีจิตใจกว้างขวาง

สนใจกิจการบ้านเมือง รู้จักประนีประนอม รู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มองโลกในแง่ดี

ประเภทของระบอบประชาธิปไตย มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม ประเภทของระบอบประชาธิปไตย 1. ประชาธิปไตยโดยทางตรง 2.ประชาธิปไตยโดยทางอ้อม

หัวใจและกระบวนการของระบอบประชาธิปไตย 1. การเข้ามีส่วนร่วมในกลุ่มผลประโยชน์ 2. การเข้ามีส่วนร่วมในพรรคการเมือง 3. การเข้ามีส่วนร่วมในการเลือกตั้ง

หลักการเลือกตั้งโดยอิสระ หลักการเลือกตั้งโดยลับ หลักการเลือกตั้งอย่างแท้จริง หลักการเลือกตั้งในระยะเวลาที่กำหนด

ปัจจัยที่เอื้อต่อระบอบประชาธิปไตย หลักความเสมอภาค หลักการให้สิทธิทั่วถ้วน ปัจจัยที่เอื้อต่อระบอบประชาธิปไตย 1. วัฒนธรรมทางการเมือง

2. ระดับการศึกษาของประชาชน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจ 4. บุคลิกภาพแบบประชาธิปไตย 5. เสถียรภาพของสถาบันทางการเมือง

รูปแบบของการปกครองฯ 6. พัฒนาการทางการปกครองและการบริหาร 1. หลักประมุขของประเทศ

2. หลักการรวมและการแยกอำนาจ แบบรัฐสภา แบบประธานาธิบดี แบบกึ่งรัฐสภาหรือกึ่งประธานาธิบดี

คุณค่าของประชาธิปไตย 1. คุณค่าต่อตัวบุคคล 2. คุณค่าต่อสังคม 3.รัฐสนองเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่ได้

ประชาธิปไตยอาจมีผลเสียต่อสังคม การใช้สิทธิและเสรีภาพของประชาชน สมาชิกขาดคุณสมบัติที่เหมาะกับระบอบฯ การปกครองฯ บางครั้งล่าช้า เฉื่อยชา

มีช่อว่างระหว่างทฤษฎีและการปฏิบัติ ระบอบฯ ไม่อาจแสวงหาผู้นำที่เข้มแข็ง