เครื่องเคาะสัญญาณ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
Advertisements

การเคลื่อนที่.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
การวิเคราะห์ความเร่ง
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
พาราโบลา (Parabola).
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
คู่มือการใช้งาน P OWER P OINT 2007 ฉบับนักเรียน.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ปฏิบัติการที่ 1 การนำเสนอข้อมูลจากการทดลอง
การพิมพ์ข้อความ และการสร้างตาราง
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
วาดภาพสวยด้วย Paint.
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
วงรี ( Ellipse).
การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ความชันและสมการเส้นตรง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องเคาะสัญญาณ

การทำงานของเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 1. ต่อไฟฟ้า 12 โวลต์ AC จากหม้อแปลงโวลต์ต่ำเข้ากับเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ดังรูป 2. สอดแถบกระดาษผ่านช่องใต้คันเคาะของเครื่องเคาะสัญญาณเวลาโดยให้อยู่ใต้      แผ่นกระดาษคาร์บอน 3. เปิดสวิตซ์ให้เครื่องเคาะสัญญาณเวลาทำงาน แล้วใช้มือดึงแถบกระดาษตรงๆ

เครื่องเคาะสัญญาณเวลาจะเคาะด้วยความถี่ 50 ครั้งต่อวินาที หมายความว่า ใน 1 วินาที เครื่องเคาะ จะเคาะ 50 ครั้ง นั่นคือ เวลาที่ใน 1 ช่วงจุดจะใช้เวลา 1/50 วินาที การหาอัตราเร็ว ความเร่ง จากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 1. การหาอัตราเร็วจากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 1.1. การหาอัตราเร็วที่จุด A กระทำได้ดังนี้ 1.1.1 หาระยะทาง s โดยวัดจาก A ไปทางซ้าย 1 ช่วงจุด ไปทางขวา 1 ช่วงจุด ( แต่ถ้าระยะทางสั้นเกินไป ใช้วัดไปทางซ้าย 2 ช่วงจุดไปทางขวา 2 ช่วงจุด )

1.1.3 หาอัตราเร็วใช้สูตร ตำแหน่ง อัตราเร็วต้องอยู่กึ่งกลางของช่วงที่หาอัตราเร็ว ข้อสังเกต ถ้า s หน่วยเป็น cm , อัตราเร็ว v หน่วยเป็น cm/s

1.2. การหาอัตราเร็วเฉลี่ยจากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา เช่น หาอัตราเร็วเฉลี่ยระหว่าง XY ต้อง วัดระยะระหว่าง XY และใช้เวลาระหว่าง XY แทนค่าในสูตร

1.3 หาอัตราเร็วจากกราฟที่ได้จากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา

3. บันทัก เวลา (t) และ ระยะทาง (s) ลงในตาราง แล้วเขียนกราฟ S – t

4. หาอัตราเร็วเฉลี่ยจากกราฟ อัตราเร็ว = ความชัน

1.4 หาความเร่งจากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 1.4.1 การหาความเร่งจากแถบกระดาษ มีวิธีการดังนี้ 1. หาความเร็วต้น และ ความเร็วปลายจากแถบกระดาษ 2. หาความเร่งจาก

ตัวอย่าง การหาความเร่งจากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา

3. การหาความเร่ง หาความเร่ง จากสูตร หรือ

1.4.2 การหาความเร่งจากกราฟ 1. นำแถบกระดาษที่ได้มาวิเคราะห์ เพื่อหาความเร็วขณะหนึ่ง ณ เวลากึ่งกลาง      ของแถบกระดาษทุก ๆ 2 –4 ช่วงจุด เขียนผลอัตราเร็ว กับเวลา ณ ตำแหน่งนั้น ๆ 2. เขียนกราฟระหว่างความเร็วกับเวลา 3. หาความเร่งจากความชันของกราฟ ความเร่ง = ความชัน

ตัวอย่างการหาความเร่ง จากแถบกระดาษที่ผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา หาความเร็วแล้วบันทึกในตาราง

เขียนกราฟได้ดังรูป จะเห็นว่าเส้นกราฟลากจะเป็นค่าเฉลี่ย ของจุดทั้งหมด

ตัวอย่าง 1. นักเรียนทดลองการเคลื่อนที่ของวัตถุด้วยอัตราเร็วคงที่ ปรากฏว่าแถบกระดาษซึ่ง ผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะ 50 ครั้ง/วินาที ที่ระยะจุด 2 ถึงจุด 6 = 6.2 cm ระยะจาก จุดที่ 6 ถึง จุดที่ 10 = 2.6 cm จงหา 1. อัตราเร็ว ณ ตำแหน่งจุดที่ 4 ........2. อัตราเร็ว ณ ตำแหน่งจุดที่ 8 ........3. อัตราเร็วเฉลี่ยจากจุดที่ 2 ถึงจุดที่ 10 ........4. จงหาความเร่งระหว่างจุดที่ 4 และ จุดที่ 8

คิดวิเคราะห์ :- อัตราเร็วของแถบกระดาษจากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา อัตราเร็วที่หาได้จะอยู่ตำแห่นงจุดกึ่งกลางของระยะทางที่หาอัตราเร็ว 2. อัตราเร็วจุดที่ 4 คิดระยะทางจากจุด 2 ถึงจุดที่ 6 ยาว 6.2 cm เวลา 4/50 วินาที 3. อัตราเร็วจุดที่ 8 คิดระยะทางจากจุด 6 ถึงจุดที่ 10 ยาว 2.6 cm เวลา 4/50 วินาที 4. อัตราเร็วเฉลี่ย คิดระยะทางจากจุด 2 ถึงจุดที่ 10 ยาว 6.2 + 2.6 = 8.8 cm เวลา 8/50 วินาที 5. ความเร่งระหว่างจุดที่ 4 และ จุดที่ 8 คือความเร่ง ณ ตำแหน่งที่ 6 ซึ่งเท่ากับความเร็วจุดที8 – ความเร็วจุดที่ 4 หารด้วยเวลาระหว่างจุดที่ 4 – จุดที่ 8 เท่ากับ 4/50 วินาที

จบแล้วครับ กชชนันธิภภาคย์ ชูเจริญ