เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
ระบบการบริหารการตลาด
Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
บ้านโนนสวรรค์ หมู่ที่ 8 ตำบทพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การจัดสวัสดิการ ของสหกรณ์
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
กระบวนการจัดการความรู้
อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
แนวคิดการเพิ่มผลผลิต Productivity Concept
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กลุ่มที่ 1.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
บริการตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง เพื่อสนับสนุนความมั่นใจให้แก่ เกษตรกรเมื่อดำเนินการผลิตตาม คำแนะนำของเจ้าหน้าที่แล้ว ผลผลิต ที่ได้จะไม่มีสารพิษตกค้าง.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การฝึกงาน องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย อ. หนองวัวซอ จ
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
งานระบบท่อระบายน้ำ PBA TEEM.
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
S terilization P itfalls สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
ภัยจากเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรของหน่วยงาน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
บทที่1 การบริหารการผลิต
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง เทคนิคการบริหารจัดการคุณภาพน้ำนมดิบ สหกรณ์โคนมท่าม่วง จำกัด บรรยายโดย คุณสุรพงษ์ เพียรประสพ ประธานกรรมการ สหกรณ์โคนมท่าม่วง จำกัด

คุณภาพน้ำนมดิบที่มีปัญหาในอดีต

คุณภาพน้ำนมดิบที่ดี ปี 2551

คุณภาพน้ำนมดิบที่ดี ปี 2552

หลักการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำนมดิบ วิธีการปฏิบัติ เกษตรกร สหกรณ์ 1.คุณภาพที่ดีมาจากฟาร์ม -สร้างจิตสำนึกที่ดี -สร้างความเป็นเจ้าของ 2.ทำดีต้องได้ดี -มีความมั่นใจและมุ่งมั่นในการแก้ไข -นโยบายชัดเจน -โปร่งใสในการตรวจสอบคุณภาพและการให้ราคา 3.พยายามทำดีแต่ยังไม่ได้ดี -ค้นหาจุดบกพร่องไม่พบ -หมดกำลังใจ กล่าวโทษเจ้าหน้าที่ -ร้องขอความช่วยเหลือ -ตรวจสอบผลคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ -ทีมงานวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 4.ไม่ยอมทำดี -แก้ไขปัญหาไม่ได้ -พอใจเท่านั้นไม่ยอมพัฒนา -ใช้มาตรการของกลุ่ม -เตรียมปัจจัยการผลิต -ปล่อยเขาไป

เกณฑ์การพิจารณาด้านราคา จำนวนจุลินทรีย์ TPC จำนวนเม็ดเลือดขาว SCC ปริมาณของแข็งรวม TS จุดเยือกแข็ง FP การปนเปื้อนสารปฏิชีวนะและสารพิษ

จำนวนจุลินทรีย์ TPC จากฟาร์ม สาเหตุ การแก้ไขระดับฟาร์ม การแก้ไขระดับสหกรณ์ -การส่งนมที่เป็นเต้านมอักเสบ (ผล TPC และ SCC สูง) 1.ตรวจ CMT ทุกตัวทุกมื้อ จัดลำดับการรีดนม 2.คัดกรองนมที่ผลการตรวจ CMT ผ่าน ส่งสหกรณ์ 3.การตรวจการทำงานของเครื่องรีดนม 4.ปรับปรุงการรีดนมให้ถูกสุขลักษณะ 5.จัดการสิ่งแวดล้อมที่โคพักอาศัย 6.คัดทิ้งแม่โครีดที่เป็นเต้านมอักเสบเรื้อรัง 1.จัดหาหรือผลิตน้ำยา CMT ในราคาถูก 2.ให้ความรู้กับเกษตรกร 3.จัดหาเครื่องมือในการตรวจการทำงานของเครื่องรีดนม -ความสะอาดของอุปกรณ์ (ชุดรีดนม และ ถังใส่นม) 1.การทำความสะอาดอย่างทั่วถึง 2.ตรวจสอบสภาพอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน (ไม่ชำรุดหรือแตก) 1.ส่งเจ้าหน้าที่ส่งเสริมเข้าไปช่วยตรวจสอบแก้ไข และจัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องเปลี่ยน เช่น ยางไลเนอร์ กรดอ่อนล้างถังใส่นมและชุดรีดนม -ระยะเวลาจากเริ่มรีดนมถึงเทนมที่สหกรณ์ 1.ใช้เวลารีดนมให้น้อยที่สุด 2.ส่งนมที่รีดเสร็จถึงศูนย์ฯให้เร็วที่สุด 1.จัดที่เทนมให้สะดวกเพียงพอ 2.ไม่รับสมาชิกที่อยู่ไกลจากศูนย์ฯมากๆ

จำนวนจุลินทรีย์ TPC จากศูนย์ฯนม สาเหตุ วิธีการแก้ไขปัญหา 1.อุปกรณ์ทำความเย็นไม่เพียงพอ -จัดหาอุปกรณ์เครื่องจักรเพิ่ม -ตรวจสอบและซ่อมบำรุงให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2.ระบบทำความสะอาด CIP -ตรวจสอบการทำความร้อนของฮีสเตอร์ -ตรวจสอบความเข้มข้นของกรด ด่าง ก่อนใช้งานให้ได้ตามที่กำหนด -ตรวจสอบระยะเวลาในการ CIP ของเจ้าหน้าที่ 3.ความสะอาดภายในบริเวณศูนย์ -กำหนดเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ -ความสม่ำเสมอของเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ 4.สิ่งแวดล้อมภายนอกศูนย์ -หาวิธีป้องกันการปนเปื้อนจากภายนอก

จำนวนเม็ดเลือดขาว SCC สาเหตุ การแก้ไขระดับฟาร์ม การแก้ไขระดับสหกรณ์ -การส่งนมที่เป็นเต้านมอักเสบ (ผล TPC และ SCC สูง) 1.ตรวจ CMT ทุกตัวทุกมื้อ สม่ำเสมอ จัดลำดับการรีดนม 2.คัดกรองนมที่ผลการตรวจ CMT ผ่าน ส่งสหกรณ์ 3.การตรวจการทำงานของเครื่องรีดนม 4.ปรับปรุงการรีดนมให้ถูกสุขลักษณะ 5.จัดการสิ่งแวดล้อมที่โคพักอาศัย 6.ทำการรักษาเต้านมอักเสบโดย น.สพ. 7.คัดทิ้งแม่โครีดที่เป็นเต้านมอักเสบเรื้อรัง 1.จัดหาหรือผลิตน้ำยา CMT ในราคาถูก 2.ตรวจ CMT ก่อนเทนม เมื่อพบต้องแจ้งให้สมาชิกทราบโดยทันที เพื่อจะได้แก้ไขในนมมื้อถัดไป 3.ให้ความรู้กับเกษตรกร 4.ตรวจสอบและแก้ไขปัญหาการทำงานของเครื่องรีดนมให้ถูกต้องตามอาการ

ปริมาณของแข็งรวม TS แก้ไขที่ระดับฟาร์ม แก้ไขที่ระดับสหกรณ์ วิธีการจัดการอาหารในการเลี้ยงโคนม ความพอเพียงของอาหารที่ให้กับโคนม แก้ไขที่ระดับสหกรณ์ ให้ความรู้ด้านการจัดการอาหารเลี้ยงโคนม โดยทีมที่ปรึกษาที่ชำนาญด้านโภชนาการ สร้างความมั่นคงด้านอาหารให้สมาชิก เช่น อาหารข้น อาหารหยาบ แร่ธาตุ อาหารเสริมต่างๆ มีจำหน่ายให้สมาชิกอย่างเพียงพอ

จุดเยือกแข็ง FP สาเหตุ แก้ไขระดับฟาร์ม แก้ไขระดับสหกรณ์ จากฟาร์ม 1.การปลอมปนน้ำ -ตั้งใจเติมน้ำลงในนม -ไม่ตั้งใจเติมน้ำลงในนม 1.อย่าเติมน้ำเพื่อเพิ่มปริมาณ 2.ตรวจสอบการทำความสะอาดอุปกรณ์รีดนมว่ามีน้ำค้างอยู่หรือไม่ 1.ส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปเก็บนมทุกตัวตรวจจุดเยือกแข็ง FP เทียบกับนมรวมที่ส่งให้สหกรณ์ 2.ตรวจสอบความสม่ำเสมอของปริมาณน้ำนมดิบที่ส่งให้สหกรณ์ 2.องค์ประกอบของนมไม่ได้มาตรฐาน 1.ปรับปรุงการจัดการอาหาร 1.จัดหาวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพ 2.ถ้าสหกรณ์ผสมอาหารสัตว์เองต้องคำนึงถึงคุณภาพอาหารสัตว์ที่เหมาะสม จากศูนย์ฯ การปนน้ำในขบวนการไล่นมออกจากระบบท่อและเพลท - 1.ต้องทราบปริมาณนมที่ค้างในเพลทและท่อ 2.ใช้น้ำไล่นมใส่ภาชนะตามปริมาณที่กำหนดไว้

การปนเปื้อนสารปฏิชีวนะและสารพิษ ระดับฟาร์ม ทำสัญลักษณ์โครีดนมที่ใช้ยาปฏิชีวนะให้คนอื่นในฟาร์มรู้ ตรวจสอบการใช้สารเคมี ตรวจสอบสภาพอาหารมีการปนเปื้อนเชื้อราหรือไม่ ระดับสหกรณ์ ติดตามเฝ้าระวังสารปฏิชีวนะและสารพิษตกค้าง ให้ความรู้ด้านสารปฏิชีวนะและสารพิษแก่สมาชิก ให้บริการตรวจสอบหาสารปฏิชีวนะในน้ำนมดิบ