ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
Advertisements

บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
การติดต่อสื่อสาร.
ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
ทฤษฎีการสื่อสาร จัดทำโดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
BA2301 หลักการตลาด การสื่อสารทางการตลาด
เสียงตามสายเพื่อการศึกษา
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
บทบาทผู้นำสหกรณ์ยุคใหม่ ผู้อำนวยการสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา
ความหมายของเครือข่าย
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
ระบบการสื่อสารข้อมูล
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การสื่อสารข้อมูล.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน
« อาจารย์มนัสสินี บุญทำดี
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
สถาบันการศึกษา.
สื่อและสิ่งอำนวยความสะดวกในการฝึกอบรม
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
แบบจำลองการสื่อสาร Communication Model.
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
ภาษาทางสื่อ วิทยุโทรทัศน์
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
สถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆในสังคม
การจัดการศึกษาในชุมชน
การสื่อสารมวลชน Mass Communication
สื่อการเรียนการสอน.
การสื่อสาร Information Sender Transmission Receiver Feedback.
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
Print media for Advertising & Public Relations
IC เพื่อการประชาสัมพันธ์
กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ สำนักบริหารกลาง
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ความหมาย ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการความรู้ คือ กระบวนการในการบริหารจัดการ ความรู้ ไม่ว่าความรู้นั้นจะอยู่ในตัว บุคคล กระดาษ เอกสาร คู่มือ สื่อ หรือแหล่งความรู้อื่นๆนำมาทำการ รวบรวมข้อมูล.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
อินเทอร์เน็ต.
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การพูด.
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
1.ความหมายของสื่อการเรียนการสอน/ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
การสื่อสาร ข้อมูล. การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับ มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นก้อน โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็นสื่อในการส่ง.
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
การนำเสนอสารด้วยวาจา
By ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พีระ พันลูกท้าว
รหัสวิชา ศิลปกรรมกับการสื่อสาร Fine and Applied Arts and Communication
องค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน หน่วยที่ 1

- เป็นสื่อกลางสำหรับส่งผ่านหรือกำหนดความคิดของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร ความหมายของภาษา - เป็นสิ่งที่ถูกกำหนดขึ้นแทนมโนภาพต่าง ๆ ในความคิดของผู้สื่อสาร - เป็นสื่อกลางสำหรับส่งผ่านหรือกำหนดความคิดของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร

ความหมายของการสื่อสาร การสื่อสารคือกระบวนการของการถ่ายทอดสาร (message) จากบุคคลฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่าผู้ส่งสาร ไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่า ผู้รับสาร (receiver) โดยผ่านสื่อ (channel)

ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับการสื่อสาร ภาษาเป็นพาหะให้เนื้อหาของสารเกาะเกี่ยวจากผู้ส่งสารไปสู่ผู้รับสาร ผู้ส่งสารใช้ภาษาเพื่อแสดงความคิดและผู้รับสารใช้ภาษาเพื่อเข้าใจความคิดนั้น

แบบจำลองกระบวนการสื่อสาร SMCR MODEL

ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร ผู้ส่งสาร (sender) - ทักษะในการสื่อสาร (communication skills) - ทัศนคติ (attitudes) - ความรู้ (knowledge)

- ระบบสังคม (social system) - วัฒนธรรม (culture)

ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร สาร (Message) - รหัส (code) - เนื้อหา (content) - การจัดสาร (treatment)

ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร สื่อ (Channel) - การเห็น (seeing) - การได้ยิน (hearing) - การสัมผัส (touching) - การได้กลิ่น (smelling) - การลิ้มรส (tasting)

ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร ผู้รับสาร (receiver) - ทักษะในการสื่อสาร (communication skills) - ทัศนคติ (attitudes) - ความรู้ (knowledge)

- ระบบสังคม (social system) - วัฒนธรรม (culture)

ลักษณะของภาษาในการสื่อสาร วัจนภาษา (Verbal Language) - คำพูดหรือตัวอักษรที่กำหนดตกลงใช้ร่วมกันในสังคม - เสียง ลายลักษณ์อักษร - ภาษาที่มนุษย์สร้างขึ้นอย่างมีระบบมีหลักเกณฑ์ทางภาษาหรือไวยากรณ์

อวัจนภาษา (Non-verbal Language) หมายถึง สัญลักษณ์ รหัสที่ไม่ใช่ตัวอักษร คำพูด (แต่เป็นคำพูดที่เข้าใจร่วมกันเฉพาะ ผู้ส่งสาร – ผู้รับสาร)

ความหมายของการสื่อสารมวลชน การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) หมายถึง การส่งสารไปยังผู้รับสารมวลชนจำนวนมากในเวลาเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน โดยที่ผู้รับสารแต่ละคนอยู่ในที่ต่าง ๆ กัน ผ่านสื่อมวลชน (mass media)ได้แก่หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น

ความสำคัญของภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน ภาษามีความสำคัญต่อการสื่อสารมวลชน ในฐานะที่ภาษาเป็นพาหะเพื่อให้สถาบันการสื่อสารมวลชนสามารถทำบทบาทหน้าที่ทางสังคมได้

บทบาทหน้าที่ทางสังคม ของสถาบันการสื่อสารมวลชน 1. การให้ข้อมูลข่าวสาร 2. การประสานส่วนต่าง ๆ ของสังคมเข้าด้วยกัน 3. การสร้างความต่อเนื่องทางสังคม 4. การให้ความเพลิดเพลินแก่สมาชิกสังคม 5. การรณรงค์ทางสังคม การเมือง และ เศรษฐกิจ

ลักษณะของภาษาทางนิเทศศาสตร์ 1. เทคโนโลยีด้านระบบการสื่อสารและภาษาดิจิตอล 2. เทคโนโลยีสื่อสาร (media technology) และภาษาของช่องทางสื่อ (media channel) 3. ภาษาของรูปแบบสื่อ (media form)

การใช้ภาษาตามหลักนิเทศศาสตร์ การใช้ภาษาตามหลักนิเทศศาสตร์  1. ความกระจ่างชัดของภาษา  2. การใช้ภาษาที่ทำให้ผู้ฟังเกิดภาพได้   3. ใช้การย้ำคำเพื่อสร้างจุดเด่น  4. ความเหมาะสมของการใช้ภาษา