ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน หน่วยที่ 1
- เป็นสื่อกลางสำหรับส่งผ่านหรือกำหนดความคิดของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร ความหมายของภาษา - เป็นสิ่งที่ถูกกำหนดขึ้นแทนมโนภาพต่าง ๆ ในความคิดของผู้สื่อสาร - เป็นสื่อกลางสำหรับส่งผ่านหรือกำหนดความคิดของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร
ความหมายของการสื่อสาร การสื่อสารคือกระบวนการของการถ่ายทอดสาร (message) จากบุคคลฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่าผู้ส่งสาร ไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่า ผู้รับสาร (receiver) โดยผ่านสื่อ (channel)
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับการสื่อสาร ภาษาเป็นพาหะให้เนื้อหาของสารเกาะเกี่ยวจากผู้ส่งสารไปสู่ผู้รับสาร ผู้ส่งสารใช้ภาษาเพื่อแสดงความคิดและผู้รับสารใช้ภาษาเพื่อเข้าใจความคิดนั้น
แบบจำลองกระบวนการสื่อสาร SMCR MODEL
ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร ผู้ส่งสาร (sender) - ทักษะในการสื่อสาร (communication skills) - ทัศนคติ (attitudes) - ความรู้ (knowledge)
- ระบบสังคม (social system) - วัฒนธรรม (culture)
ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร สาร (Message) - รหัส (code) - เนื้อหา (content) - การจัดสาร (treatment)
ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร สื่อ (Channel) - การเห็น (seeing) - การได้ยิน (hearing) - การสัมผัส (touching) - การได้กลิ่น (smelling) - การลิ้มรส (tasting)
ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร ผู้รับสาร (receiver) - ทักษะในการสื่อสาร (communication skills) - ทัศนคติ (attitudes) - ความรู้ (knowledge)
- ระบบสังคม (social system) - วัฒนธรรม (culture)
ลักษณะของภาษาในการสื่อสาร วัจนภาษา (Verbal Language) - คำพูดหรือตัวอักษรที่กำหนดตกลงใช้ร่วมกันในสังคม - เสียง ลายลักษณ์อักษร - ภาษาที่มนุษย์สร้างขึ้นอย่างมีระบบมีหลักเกณฑ์ทางภาษาหรือไวยากรณ์
อวัจนภาษา (Non-verbal Language) หมายถึง สัญลักษณ์ รหัสที่ไม่ใช่ตัวอักษร คำพูด (แต่เป็นคำพูดที่เข้าใจร่วมกันเฉพาะ ผู้ส่งสาร – ผู้รับสาร)
ความหมายของการสื่อสารมวลชน การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) หมายถึง การส่งสารไปยังผู้รับสารมวลชนจำนวนมากในเวลาเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน โดยที่ผู้รับสารแต่ละคนอยู่ในที่ต่าง ๆ กัน ผ่านสื่อมวลชน (mass media)ได้แก่หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น
ความสำคัญของภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน ภาษามีความสำคัญต่อการสื่อสารมวลชน ในฐานะที่ภาษาเป็นพาหะเพื่อให้สถาบันการสื่อสารมวลชนสามารถทำบทบาทหน้าที่ทางสังคมได้
บทบาทหน้าที่ทางสังคม ของสถาบันการสื่อสารมวลชน 1. การให้ข้อมูลข่าวสาร 2. การประสานส่วนต่าง ๆ ของสังคมเข้าด้วยกัน 3. การสร้างความต่อเนื่องทางสังคม 4. การให้ความเพลิดเพลินแก่สมาชิกสังคม 5. การรณรงค์ทางสังคม การเมือง และ เศรษฐกิจ
ลักษณะของภาษาทางนิเทศศาสตร์ 1. เทคโนโลยีด้านระบบการสื่อสารและภาษาดิจิตอล 2. เทคโนโลยีสื่อสาร (media technology) และภาษาของช่องทางสื่อ (media channel) 3. ภาษาของรูปแบบสื่อ (media form)
การใช้ภาษาตามหลักนิเทศศาสตร์ การใช้ภาษาตามหลักนิเทศศาสตร์ 1. ความกระจ่างชัดของภาษา 2. การใช้ภาษาที่ทำให้ผู้ฟังเกิดภาพได้ 3. ใช้การย้ำคำเพื่อสร้างจุดเด่น 4. ความเหมาะสมของการใช้ภาษา