Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

เสียงพยัญชนะ นางสมจิตร ภูเต็มเกียรติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนศรีบุณยานนท์

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ระบบ e-learning สำหรับผู้พิการทางสายตา
ระบบ เสียง ในภาษาไทย เสียง เกิดจากลมที่เคลื่อนตัวจากปอดผ่านหลอดลม ลำคอ กล่องเสียง ช่องปาก จมูก เพดาน ลิ้น ฟัน ริมฝีปาก.
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
รูปแบบการจัดวางสามารถปรับได้ตามความสะดวก -แบบตัวอักษรใช้ THsarabunPSK
สรุปภาพรวมหน่วยการเรียนรู้
ADDIE model หลักการออกแบบของ
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
ซอฟต์แวร์.
The automated web application testing (AWAT) system
Management Information Systems
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
Image Processing & Computer Vision
Binary Image Processing
การกำหนดสีของตัวอักษร การกำหนดสีของตัวอักษรเฉพาะส่วน
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การหาคุณลักษณะพิเศษของตัวอักษร
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
การหาคุณลักษณะพิเศษ.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
เรื่อง พยัญชนะไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิชาภาษาไทย
กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส เรื่อง...บาลีศึกษาเบื้องต้น
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (8) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
Computer Graphics Image Processing 1.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
หน่วยนำเข้าข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ

วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ทบทวนบทเรียน ENGLISH CLASS 6.
การอ่าน-การเขียนภาษาไทย
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
ความหมายของวิทยาศาสตร์
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
วิชาภาษาไทย เรื่อง สนุกกับพยัญชนะไทย
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
 ในปัจจุบันการนำคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน ของประเทศ ต่างๆ ทั่วโลก อยู่ที่การใช้สารสนเทศเป็นส่วนใหญ่ แนวโน้มของระบบ จัดการข้อมูลของยุคนี้ เริ่มเปลี่ยน จากระบบ.
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาบาลี - ภาษาสันสกฤต )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กน แม่กก แม่กด แม่กบ แม่ ก กา
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
นายรัชภูมิ เกื้อภักดิ์ รหัสนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. อนันท์ ชกสุริวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ก. ไก่ ฝึกอ่านตาม หน้า ถัดไป ผู้จัดทำ sahapreecha.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks การรู้จำลายมือเขียนภาษาไทยด้วยโครงข่ายประสาทเทียม โดย นส.ณัฐธิดา ลีสม นส.กาญจนา เรืองธนานุรักษ์ อ.ที่ปรึกษา อ.โอฬาริก สุรินต๊ะ อ.รพีพร ช่ำชอง

Thai Handwritten Character Recognition หลักการและเหตุผล โลกปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศอยู่ในรูปแบบของ รูปภาพ ข้อความ เสียง สารสนเทศที่อยู่ในรูปแบบดิจิตอล ทำให้ง่ายต่อการค้นคืน และนำไปประยุกต์ให้ตรงต่อความต้องการ Thai Handwritten Character Recognition

หลักการและเหตุผล (ต่อ) อาจมีสารสนเทศบางประเภทที่เก็บอยู่ในรูปแบบของเอกสาร (Document) ทำให้ยากต่อการค้นคืน และนำไปใช้งาน ดังนั้น จึงประยุกต์ความรู้ทางด้านการประมวลผลภาพ (Image Processing) และการรู้จำตัวอักษร (Character Recognition) เพื่อแปลงเอกสารให้อยู่ในรูปแบบของเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ง่ายต่อการนำไปใช้งาน Thai Handwritten Character Recognition

วัตถุประสงค์ของโครงงาน เพื่อพัฒนาโปรแกรมการรู้จำตัวอักษรลายมือเขียนภาษาไทย เพื่อปรับปรุงระบบการรู้จำตัวอักษรลายมือเขียนภาษาไทยด้วยโครงข่ายประสาทเทียม Thai Handwritten Character Recognition

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เพื่อใช้เป็นระบบต้นแบบการรู้จำตัวอักษรลายมือเขียนภาษาไทย Thai Handwritten Character Recognition

Thai Handwritten Character Recognition ขอบเขตของโครงงาน พัฒนาระบบต้นแบบการรู้จำตัวอักษรลายมือเขียนภาษาไทย สำหรับตัวอักษรภาษาไทย พยัญชนะ 44 ตัว สระ 18 ตัว วรรณยุกต์ 4 ตัว ตัวเลขอารบิก จำนวน 10 ตัว (0-9) ตัวอักษรภาษาอังกฤษ 26 ตัว (a-z) *ทดลอง Thai Handwritten Character Recognition

ขอบเขตของโครงงาน (ต่อ) พยัญชนะ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ฦ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ สระ อั อะ อา อิ อี อึ อื อุ อู เอ โอ ใอ ไอ ๅ ๆ อ็ อ์ อํ วรรณยุกต์ อ่ อ้ อ๊ อ๋ ภาพประกอบ ตัวอักษรภาษาไทยที่ใช้ในการรู้จำ Thai Handwritten Character Recognition

ขอบเขตของโครงงาน (ต่อ) a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z ภาพประกอบ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ใช้ในการรู้จำ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ภาพประกอบ ตัวเลขอารบิกที่ใช้ในการรู้จำ Thai Handwritten Character Recognition

ขอบเขตของโครงงาน (ต่อ) การนำข้อมูลเข้า สามารถรับจากเครื่องสแกน หรือภาพที่สร้างจากโปรแกรม Photoshop หรือ Paint Brush โดยรับข้อมูลเข้ามาเป็นรูปภาพสี ข้อมูลที่ใช้สำหรับทดสอบเป็นลายมือเขียนภาษาไทยที่เขียนอยู่บนกระดาษสีที่มีค่าสีที่แตกต่างจากหมึกปากกา ไม่มีลายเส้น ไม่เขียนเอียง ไม่มีรูปภาพประกอบ ใช้ปากกาสีเข้ม เช่น น้ำเงิน แดง ดำ เป็นต้น และไม่มีสัญญาณรบกวน ในรูปแบบต่าง ๆ Thai Handwritten Character Recognition

ขอบเขตของโครงงาน (ต่อ) ภาพประกอบ ตัวอย่างข้อมูลที่ใช้ในการเรียนรู้ Thai Handwritten Character Recognition

ขอบเขตของโครงงาน (ต่อ) ทดลองกับเอกสารที่มีพื้นหลังแตกต่างกัน เช่นพื้นหลังเป็นสี หรือพื้นหลังมีสัญญาณรบกวน ใช้ตัวอักษรลายมือเขียน 100 ชุดต่อหนึ่งตัวอักษร ในรูปแบบไฟล์ภาพเชิงดิจิตอล ได้แก่ .jpg เพื่อใช้ในการสร้าง Model โดยลายมือเขียนตัวอักษรภาษาไทย เขียนจากบุคคลที่แตกต่างกันจำนวน 10 คนขึ้นไป สามารถแสดงผลข้อมูลในโปรแกรม Notepad Thai Handwritten Character Recognition

ขอบเขตของโครงงาน (ต่อ) Input Output ภาพประกอบ ตัวอย่างข้อมูลที่ใช้ในการรู้จำ ภาพประกอบ ตัวอย่างผลลัพธ์ที่ได้จากการรู้จำ ภาพประกอบ ตัวอย่าง Input และ Output ของโปรแกรม Thai Handwritten Character Recognition

ขอบเขตของโครงงาน (ต่อ) ภาพประกอบ Diagram ของระบบการรู้จำตัวอักษรลายมือเขียนภาษาไทย Thai Handwritten Character Recognition

Thai Handwritten Character Recognition ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง ลักษณะของตัวอักษรภาษาไทย การประมวลผลภาพ (Image Processing) ภาพเชิงดิจิตอล การแปลงภาพสีให้เป็นภาพสีเทา การแปลงภาพสีเทาให้เป็นภาพขาวดำ การกำจัดสัญญาณรบกวน Thai Handwritten Character Recognition

ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) การจำแนกบรรทัดข้อความ การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ การทำให้ตัวอักษรบาง การหาคุณลักษณะพิเศษ การรู้จำตัวอักษร การออกแบบหน้าจอโปรแกรม (GUI) Thai Handwritten Character Recognition

ลักษณะของตัวอักษรภาษาไทย ตัวอักษรภาษาไทยประกอบไปด้วย พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เมื่อนำตัวอักษรมาประกอบกันจะแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ภาพประกอบ ระดับของตัวอักษรภาษาไทย Thai Handwritten Character Recognition

การประมวลผลภาพ (Image Processing) เปรียบเสมือนการจัดการ การวิเคราะห์สารสนเทศของภาพ โดยใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล โดยวิธีในการประมวลผลขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ที่ต้องการ ภาพประกอบ การลดสัญญาณรบกวน (Noise) จากรูปภาพ Thai Handwritten Character Recognition

ภาพเชิงดิจิตอล ภาพประกอบ รูปภาพเชิงดิจิตอล Thai Handwritten Character Recognition

Thai Handwritten Character Recognition ภาพเชิงดิจิตอล (ต่อ) ภาพสี แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ภาพสี (RGB Image) ภาพสีเทา (Gray Image) ภาพขาวดำ (Binary Image) ภาพสีเทา ภาพขาวดำ Thai Handwritten Character Recognition