Search Engine อ. กฤษฎา ศักดิ์คำดวง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Advertisements

ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ.
Education Research Complete
ฐานข้อมูล Nursing Resource Center
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
The Development of Document Management System with RDF
Top 5 Semantic Search Engines
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เทคนิคการสืบค้น Boolean Operators.
การค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต SRARCH ENGINE
Thesis รุ่น 1.
AI02 กูเกิ้ล: กลไกการสืบค้นข้อมูลบนระบบอินเทอร์เน็ต Google: the Internet System Search Engine อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธวัชวงศ์ ลาวัลย์ โดย นางสาวธัญพร.
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
ระบบข้อสอบออนไลน์.
การสืบค้นข้อมูลบนระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต
ปฏิบัติการที่ 13 การใช้งาน Online Bookmarking
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ตัวอย่างขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูล
วิธีการใช้งาน Google ค้นหาข้อมูล แบบติดจรวด
การใช้ Internet ในการเรียน
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
วิชา การสืบค้นสารสนเทศ ขั้นสูง ( Advanced Information Retrieval ) รหัสวิชา (2-2)
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
Search Engine.
Jatuphum Juanchaiyaphum
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
การทบทวนวรรณกรรมสำหรับนักวิจัย
SCIENCE DIRECT.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
เทคนิคการสืบค้น Google
Assignements 4 ICT in KM (KM703) Knowledge Management Program
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
การใช้ Internet ในการเรียน
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
การใช้ Internet ในการ เรียน คอมพิวเตอร์สมัยนี้ กล้วยเรียก “ พี่ ”
การสืบค้นทางคณิตศาสตร์
JSTOR ฐานข้อมูลวารสารฉบับย้อนหลัง ครอบ คลุมสหสาขาวิชา เช่น สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ ฯลฯ ให้ ข้อมูลบรรณานุกรมและเอกสารฉบับเต็ม.
Hosting ( Hosting, Web Hosting)
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
Chapter 3 การตลาดออนไลน์
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
Knovel E-Books Database.
EBook Collection EBSCOhost.
การค้นหาสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
หลักการเขียนโครงการ.
EbscoHost & NetLibrary เป็นฐานข้อมูลที่ครอบคลุมงานวิชาการจากทั่วโลก ซึ่งมี full text มากกว่า 5,990 รายชื่อ รวมทั้งวารสารที่เป็น peer reviews อีกกว่า 5,030.
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ProQuest Dissertations & Theses.
การเขียนรายงาน.
Wiley Online Library. Wiley Online Library Wiley Online Library เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ รวบรวมวารสารมากกว่า 800 รายชื่อ ครอบคลุมสาขาวิชาทางด้าน.
IngentaConnect.
ScienceDirec t จัดทำโดย ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุ รักษ์
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
Dissertation Full text เป็นการ สืบค้นด้วยระบบ IR-Web โดยมีขอบเขต เนื้อหา เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม อิเล็กทรอนิกส์ 3,850 ชื่อเรื่อง ที่สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
16. การเขียนรายงานการวิจัย
การใช้อินเตอร์เน็ตในการเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Search Engine อ. กฤษฎา ศักดิ์คำดวง

เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูล Search Engine www.yahoo.com www.altavista.com www.google.co.th www.sansarn.com www.thaiseek.com www.thaifind.com www.sanook.com

หลักการสืบค้นข้อมูลในอินเตอร์เน็ต ใช้โปรแกรม Search Engine มีวิธีค้น 3 ประเภท 1. Keyword Index เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลทั่วไป 2. Subject Directory เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ ความแม่นยำ 3. MetaSearch Engine เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลทั่วไป แบบกว้างๆ

1. Keyword Index เป็นการค้นหาข้อมูลโดยใช้คำสำคัญ โปรแกรมจะค้นโดยอ่านชื่อเว็บไซต์และคำข้างบนสุดประมาณ 30 คำของเนื้อเรื่อง เช่น Google, Alta Vista, Excite ตัวอย่าง

การใช้ Advanced Search เป็นการค้นให้เฉพาะเจาะจงยิ่งขึ้น เพื่อจำกัดองค์ประกอบอื่นๆ เช่น ภาษา ช่วงเวลา รูปแบบของไฟล์ข้อมูลที่ต้องการ

2. Subject Directory นำข้อมูลใน Web ต่างๆ มาจัดเป็นหมวดหมู่ ทำการแบ่งเป็นเรื่องย่อยๆ  จากเรื่องทั่วไป ไปสู่เรื่องที่มีความเฉพาะเจาะจง โครงสร้างของการจัดหมวดหมู่จะถูกเตรียมไว้ก่อน จากนั้นจึงนำเว็บไซต์ต่างๆ ที่รวบรวมมาไปจัดเก็บตามหมวดหมู่ที่จัดทำไว้ 

2. Subject Directory (ตัวอย่าง)

ข้อดีของ Directory การแบ่งหมวดหมู่ที่ชัดเจน  ช่วยนำทางในการเข้าถึงข้อมูล  จากประเด็นกว้างๆ ที่ยังไม่ชัดเจน  ไปสู่ประเด็นเรื่องที่ชัดเจน ผู้ใช้จะเริ่มคาดเดาได้ว่า เรื่องที่ต้องการจะจัดเก็บไว้ภายใต้หมวดหมู่ย่อยใด  ในการค้นผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องที่ค้น ไม่จำเป็นต้องรู้คำศัพท์เฉพาะมาก่อน

3. MetaSearch Engine Search Engine ที่นำคำถาม (Query) ของผู้ใช้ไปสอบถาม Search Engine อื่น แล้วนำผลลัพธ์มารวมกัน เพื่อนำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม ถ้าข้อมูลที่ได้มีซ้ำกัน ก็จะแสดงเพียงรายการเดียว เช่น Meta Crawler, Dogpile, www.thaifind.com, www.search.com ฯลฯ Search Engine QUERY QUERY RESULT MetaSearch Engine RESULT COMBINDED RESULT Search Engine QUERY

MetaSearch Engine ข้อดี สามารถค้นเรื่องที่ต้องการได้ จากแหล่งเดียว ไม่ต้องเสียเวลาไปค้นจากหลายที่ โดย Search Engines จะตัดข้อมูลที่มีความซ้ำซ้อนกันออกไป  เหมาะที่จะใช้ในกรณีที่ต้องการรวบรวมข้อมูลที่ต้องการให้ครอบคลุมมากที่สุด และที่สำคัญช่วยประหยัดเวลาในการค้นให้กับผู้ใช้

MetaSearch Engine ข้อด้อยที่ต้องคำนึงถึง คำค้นที่ Search Engines แต่ละตัวใช้มีโครงสร้างประโยค (Syntax) ของตนเองซึ่งแตกต่างกันไป แต่ผู้ใช้จะใส่คำค้นที่  Multi Search Engines เพียงคำค้นเดียว (Query) ในกรณีที่คำค้น มีการสร้างสูตรการค้นที่ซับซ้อน หรือใช้ภาษาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ  อาจให้ผลการค้นไม่เที่ยงตรงได้ เนื่องจากไม่เข้าใจคำสั่งที่แท้จริง

หลักสำคัญที่ใช้ในการสืบค้น สืบค้นจากชื่อเว็บไซต์ในตำแหน่ง URL สืบค้นจากคำที่มีอยู่ในชื่อเรื่อง สืบค้นจากคำสำคัญ สืบค้นจากส่วนสำคัญที่ใช้อธิบายหรือบอกลักษณะ สืบค้นจากคำที่มีอยู่ในเนื้อหาของเว็บไซต์

เครื่องหมายที่ใช้ในการค้นข้อมูล AND : ใช้การค้นข้อแบบเจาะลึก เช่น poverty and crime หมายถึงค้นเอกสารที่มีคำสองคำปรากฏ poverty AND crime

เครื่องหมายที่ใช้ในการค้นข้อมูล Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา โรงแรม และ เชียงราย ข้อมูลจะหาเฉพาะ ที่มีคำว่า โรงแรม และ เชียงราย อยู่ในบทความ

เครื่องหมายที่ใช้ในการค้นข้อมูล + - “……..” AND OR NOT

เครื่องหมายที่ใช้ในการค้นข้อมูล OR : ใช้หาข้อมูลที่หายากหรือมีข้อมูลน้อย เช่น college OR university หมายถึงค้นหาเอกสารที่มีคำหนึ่ง คำใดปรากฏ O                                       college OR university

เครื่องหมายที่ใช้ในการค้นข้อมูล AND NOT หรือ NOT : ใช้ค้นเฉพาะที่ต้องการโดยตัดคำบางคำออกไป เช่น CAT NOT DOGS CAT NOT DOGS

การใช้คำสั่งและเครื่องหมายในการค้นคำ PLUS/MINUS เครื่องหมาย บวก หรือ ลบ ไว้หน้าคำ หรือวลี เช่น +poverty    +crime cats    -dogs การเขียน + หรือ - ให้เขียนติดกับคำ โดยไม่ต้องเว้นวรรค

การใช้คำสั่งและเครื่องหมายในการค้นคำ 3. PHRASES ใช้เครื่องหมาย “ ” ครอบวลี เช่น “communication research” “Thai language” 4. Stemming ใช้เครื่องหมาย asterisk* เช่น bird* ใช้ในการค้นคำว่า bird, birds, birding

การแสดงผลข้อมูล แบบจัดลำดับ (Relevance Ranking) เรียงตามลำดับข้อมูลที่โปรแกรมคาดว่าเกี่ยวข้องมากที่สุดก่อน โดยนับจากจำนวนคำที่ปรากฏใน Web site แบบสรุปความ (Abstract) เป็นการแสดงผลในรูปสรุปความ หากต้องการรายละเอียดต้องเข้าดูเอกสารจริง *** แบบที่ 2 มีประโยชน์มากกว่าแบบที่ 1 ***

เทคนิคการค้นหาข้อมูลเฉพาะด้าน : ภาพ

ค้นหาภาพจาก google

แบบฝึกหัดท้ายบท (ทำใส่กระดาษ A4) ให้เขียน **ยิ่งละเอียด ยิ่งได้คะแนนดี** ต้องการเดินทางไปราชการที่ กระทรวงศึกษาธิการ จงค้นหาข้อมูล (ที่ตั้งของกระทรวงศึกษาธิการ) ว่า “ตั้งอยู่ที่ใด เขตไหน หมายเลขติดต่อ” การเดินทางจากขนส่งหมอชิต มายังกระทรวงศึกษาธิการ นั่งรถเมลล์สายไหนบ้าง ในการเดินทางครั้งนี้ จำเป็นต้องพัก 1 คืน ให้หาข้อมูลโรงแรมที่อยู่ใกล้เคียงกับกระทรวงศึกษาธิการ ในราคาห้องไม่เกิน 1,500 บาท (ข้อมูลโรงแรมอย่างละเอียด)