PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
Advertisements

วิธีการสมัครสมาชิก UNOVUS
ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
วิธีการสมัครสมาชิก UNOVUS
ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ.
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
Active Sever Page.
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
Chapter VII : การแก้ไขข้อมูล
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
เทคนิคการสร้างแบบทดสอบ
Location object Form object
JavaScript.
ระบบตะกร้าและระบบชำระเงิน Shopping Cart + Payment
การสร้างแบบฟอร์ม <form>
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
PHP LANGUAGE.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ทส215 การเขียนโปรแกรมบนเว็บ 1
การส่งค่าและการเก็บค่า (ต่อ... )
World Wide Web WWW.
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
Request Object.
– Web Programming and Web Database
การติดตั้ง AppServ
Introduction to php Professional Home Page :PHP
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
จากไฟล์ save_db.php.
การกำหนดค่าเริ่มต้นและ การใช้งาน server ผ่าน Dreamweaver
โปรแกรม Microsoft Access
Electronic Commerce เว็บฟอร์ม (Web Form).
PHP.
เครื่องนักศึกษา  c:\appserv\www\ชื่อนักศึกษา\ชื่อไฟล์.php
การสร้างช่องรับข้อมูล
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 กรกฎาคม 2550 แฟ้มข้อความ (Text File) #1 มหาวิทยาลัยโยนก.
นายวีระ คงกระจ่าง ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
การรับข้อมูลในภาษา php
1. 2  ในการใช้งานเว็บไซต์ โดยปกติเราจะไม่สามารถ ใช้งานตัวแปรที่มีลักษณะ Global ที่สามารถ นำไปใช้ได้กับเว็บเพจหน้าอื่นๆ ปกติในการใช้ งานค่าต่างๆ ของเว็บเพจ.
HTML, PHP.
การนำเสนองานบนอินเตอร์เน็ต
โครงการพัฒนาฐานข้อมูลการตรวจคัดกรองสภาวะฟันตกกระ ปัญหาสุขภาพ พฤติกรรมการบริโภคน้ำ การรับประทานอาหาร และการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียนและผู้สูงอายุ
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
PHP for Web Programming
CHAPTER 3 System Variables and Array
CHAPTER 12 FORM.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
Download PHP. C:\windows\PHP.ini cgi.force_red irect = 0 พิมพ์แทรก.
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การเขียน Home page ด้วย HTML (2) ตอน... การใช้ FORM โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
PHP : [1] PHP เบื้องต้น. PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ.
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
PHP. P ersonal H ome P age P rofessional H ome P age PHP : H ypertext P reprocessor.
PHP เบื้องต้น.
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสร้าง ฟอร์มรับข้อมูล ง การเขียนเว็บไซต์ เบื้องต้น ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียน ปลวกแดงพิทยาคม.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
PHP Html Form && Query string
Form.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์ ส่วนการติดต่อกับเซอร์เวอร์นั้นต้องอาศัยโปรแกรมสคริปต์ เช่น PHP, CGI , JAVA, ASP หรือ VB script ฟอร์มหนึ่งๆ ประกอบด้วยฟิลด์(Field)ต่างๆ เช่น text, textarea drop-down box, list box, radio buttons, checkboxes, button เป็นต้น

Form TAG การสร้าง form จะใช้ <form> tag ข้อมูลที่กำหนดในฟอร์มมักจะถูกส่งไปประมวลผลที่ฝั่ง server เมื่อมีการกดปุ่ม Submit ข้อมูล กำหนดวิธีการส่งข้อมูลแบบ POST หรือ GET กำหนด file ที่ต้องการ ส่งข้อมูลไปให้ <form method=“POST” action=“getdetail.php”> First name: <input type="text" name="firstname"> <br> Last name: <input type="text" name="lastname"> <input type=“submit” value=“Submit”> </form>

การส่งข้อมูลจากฟอร์ม การส่งข้อมูลผ่านฟอร์มจะมีสองวิธีคือ GET และ POST การส่งข้อมูลด้วยวิธี GET คือการส่งข้อมูลโดยการเพิ่มเข้าไปเป็น URL parameter (Query String) ซึ่งจะทำให้ตัวแปรและข้อมูลที่กรอกในแบบฟอร์มแสดงต่อท้าย URL ที่ต้องการส่งข้อมูลไป โดยจะสามารถมองเห็นข้อมูลเหล่านั้นปรากฏในช่อง Address ของเบราเซอร์ เช่น http://www.myweb.com/get.php?name=“matinee”&age=18 2. การส่งข้อมูลแบบ POST เป็นการส่งข้อมูลไปกับ HTTP Request ต้องอาศัยฟอร์มในการส่ง จะมีความปลอดภัยมากกว่าเพราะไม่ได้ส่งข้อมูลร่วมไปกับ URL ทำให้มองไม่เห็นข้อมูลที่ส่งไป และสามารถรองรับปริมาณการส่งข้อมูลได้มากกว่าด้วย เว็บไซต์ ไฟล์ ข้อมูลที่ส่ง

การรับข้อมูลจากฟอร์ม การรับข้อมูลจากฟอร์มจะขึ้นอยู่กับว่าเป็นการรับข้อมูลที่ส่งแบบ POST หรือ GET การรับข้อมูลที่ส่งด้วยวิธี GET จะใช้ $_GET[‘ชื่อข้อมูล’] เช่น $name=$_GET[‘name’]; $age=$_GET[‘age’]; 2. การรับข้อมูลที่ส่งด้วยวิธี POST จะใช้ $_POST[‘ชื่อข้อมูล’] หรือ $_REQUEST[‘ชื่อข้อมูล’] เช่น $firstname=$_POST[‘firstname] $lastname=$_REQUEST[‘lastname’]; รับด้วย HTTP_POST_VARS ก็ได้ $Fruit=$HTTP_POST_VARS[‘Fruit’];

ตัวอย่างการสร้างฟอร์ม ไฟล์ apply.html <html> <body> <center> แบบฟอร์มสมัครเข้ารับราชการ </center><br> <form name="form1" method="post" action="apply.php"> ชื่อ <input type="text" name="firstname"> นามสกุล <input type="text" name="lastname"> <br><br>เพศ <input name="sex" type="radio" value="f">ชาย <input name="sex" type="radio" value="m">หญิง <br><br>ระดับการศึกษา <select name="education"> <option value="1">ปริญญาตรี</option> <option value="2">ปริญญาโท</option> <option value="3">ปริญญาเอก</option> </select><br> <br><br>ความสามารถทางภาษา <input name="eng" type="checkbox">อังกฤษ <input name="china" type="checkbox">จีน <input name="japan" type="checkbox">ญี่ปุ่น <input name="france" type="checkbox">ฝรั่งเศส <br><br>ความสามารถพิเศษ <textarea name="perform">กรุณากรอก</textarea> <br><br> <input type="submit" name="submit" value="ส่งใบสมัคร"> <input type="reset" name="reset" value="เคลียร์ข้อมูล"> </form> </body> </html> เมื่อคลิกที่ปุ่มประเภท submit จะส่งข้อมูลในฟอร์มไปประมวลผล ที่ไฟล์ apply.php

ตัวอย่างการรับข้อมูลจากฟอร์ม ไฟล์ apply.php <? echo "ชื่อ: ".$_POST['firstname']."<br>"; echo "นามสกุล: ".$_POST['lastname']."<br>"; echo "เพศ :"; if ($_POST['sex'] == 'f') echo "ชาย "; else echo "หญิง "; echo "<br>"; echo "ระดับการศึกษา :"; if ($_POST['education'] == 1) echo "ปริญญาตรี"; elseif ($_POST['education'] == 2) echo "ปริญญาโท"; else echo "ปริญญาเอก"; echo "ความสามารถทางภาษา :"; if ($_POST['eng']=='on') echo "อังกฤษ "; if ($_POST['china']=='on') echo "จีน "; if ($_POST['japan']=='on') echo "ญี่ปุ่น "; if ($_POST['france']=='on') echo "ฝรั่งเศส ";echo "<br>"; echo "ความสามารถพิเศษ :"; echo $_POST['perform'] ?>

ผลลัพธ์ของไฟล์ apply.html

ตัวอย่างการกรอกข้อมูลในฟอร์ม apply.html

ผลลัพธ์ที่ได้จาก apply.php เมื่อคลิกปุ่มส่งใบสมัครจาก apply.html

ตัวอย่างการใช้งาน nl2br () เพื่อให้แสดงข้อมูล ขึ้นบรรทัดใหม่ ฟังก์ชัน nl2br () นำมาใช้ร่วมกับการกรอกข้อมูลผ่าน Text area โดยทำหน้าที่แปลงเครื่องหมายที่มีการเว้นบรรทัด (เกิดจากการกด Enter) เป็นเท็ก <br> ซึ่งเป็นการแท็กของ HTML ที่ใช้เว้นบรรทัดโดยนิยมใช้เพื่อให้สามารถแสดงข้อมูลบนเบราเซอร์ได้ถูกต้อง ถ้าหากไม่ใช้ฟังก์ชันนี้ข้อมูลทั้งหมดจะแสดงต่อกันในบรรทัดเดียวตัวอย่างการใช้งาน nl2br() เช่น echo nl2br(($_POST[‘comment’])); 10

ตัวอย่างการสร้างฟอร์มรับข้อมูลจาก text area ไฟล์ comment.html <html> <body> <form name="form" method="post" action="showcomment.php"> comment: <textarea name="comment" cols=50 rows=5></textarea> <br><input type="submit" name="submit" value="submit"> </form> </body> </html>

ตัวอย่างการกรอกข้อมูลในฟอร์ม comment.html

ตัวอย่างการรับข้อมูลจาก comment.html ไฟล์ showcomment.php <? echo $_POST['comment']."<br>"; echo nl2br(($_POST['comment'])); ?>

ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณราคาสินค้า ไฟล์ price.html <html> <body> <center> โปรแกรมคำนวนราคาสินค้า </center><br> <form name="form1" method="post" action=“price.php"> ราคาสินค้าต่อชิ้น <input type="text" name="price"><br> จำนวนชิ้นที่ซื้อ   <input type="text" name="amount"><br> <input type="submit" name="submit" value="คำนวณราคา"> <input type="reset" name="reset" value="ยกเลิก"> </form> </body> </html>

ไฟล์ price.php <? $price=$_POST['price']; $amount=$_POST['amount']; $total_price=$price*$amount; $vat=$total_price * 0.07; $net_price=$total_price + $vat; echo "ราคาสินค้าต่อชิ้น = $price <br>"; echo "จำนวนชิ้นที่ซื้อ = $amount <br>"; echo "ราคารวม = $total_price <br>"; echo "ภาษีมูลค่าเพิ่ม = $vat <br>"; echo "ราคาสุทธิ = $net_price"; ?>

ตัวอย่าง ไฟล์ price.php ไฟล์ price.html

ตัวอย่างการรับข้อมูลภายในเพจเดียวกัน <html> <body> <Form Action="myself.php" Method=get> A = <Input Type="Text" name="A" size="5"><br> B = <Input Type="Text" name="B" size="5"><br> C = <Input Type="Text" name="C" size="5"><br> <Input Type=Submit Value="Submit"> <Input Type=Reset Value="Clear"> </Form> <? if (isset($_POST[‘A'],$_POST[‘B'],$_POST[‘B'])) { $X = $_POST[‘A'] + $_POST[‘B'] + $_POST[‘C']; echo " A = $_POST[‘A']<br>"; echo " B = $_POST[‘B']<br>"; echo " C = $_POST[‘C']<br>"; echo " X = A + B + C = $X<br>"; } ?> </body> </html> ไฟล์ myself.php

เกณฑ์การให้คะแนน Project 15 คะแนน Document + Presentation 4 คะแนน Web Design (Interface) 4 คะแนน Technique+Functions 7 คะแนน