บทที่ 7 การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Advertisements

บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
User Defined Simple Data Type
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
ภาษาปาสคาล บทนำ.
PHP LANGUAGE.
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Repetitive Statements (Looping)
ฟังก์ชั่น function.
โครงสร้างคำสั่งแบบเลือก (Selection)
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
1 RECORD TYPE ข้อมูลชนิดเรคอร์ด SCC : Suthida Chaichomchuen
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
ตัวอย่างคำสั่ง FOR.
ตัวอย่างคำสั่ง CASE.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ธนาวินท์ รักธรรมานนท์
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
คิว ลักษณะการทำงานของ Queue การดำเนินการของ Queue การตรวจสอบ Queue
สแตค(stack) โครงสร้างข้อมูลแบบ Stack - การสร้าง Stack
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
Week 3 Flow Control in PHP
TURBO PASCAL OUTLINE 1. บทนำเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Lecture 4 เรคอร์ด.
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
บทที่ 9 เซต (Set) เซต หมายถึงกลุ่ม ฝูง พวก ชุด ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เพศ ประกอบด้วย หญิง และ ชาย รายการที่อยู่ในเซต เรียกว่าสมาชิก เซตย่อย (Subset) คือ.
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
วิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับข้อมูล โดยที่ ข้อมูลนั้นจะต้อง 1. เป็นประเภทเดียวกัน | ตัวเลข, ตัวอักษร 2. มีขนาดเท่ากัน ? ARRAY คืออะไร.
PHP: [7] ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับ วัน/เวลา
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
1 บทที่ 5 โปรแกรมย่อย Part II Function. 2 ฟังก์ชัน (Function) เป็นชุดคำสั่งย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เหมือนกับ procedure สามารถมีการรับส่งค่าข้อมูล.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
คอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
เตรียมเงิน/หุ้นให้เพียงพอสำหรับการ Settlement แบบ 2 วันรวมกัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่ ชนิดข้อมูลในภาษาปาสคาล มีแบบ Integer, real, boolean หรือ char ผู้ใช้สามารถกำหนดชนิดข้อมูลใหม่เองได้ ภายใต้ คำประกาศ TYPE

การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่ การประกาศทำได้ 3 แบบ แบบแจงนับ(Enumerated type) แบบย่อย (Sub range) แบบกำหนดใหม่โดยใช้ข้อมูลเดิม เช่น record array

แบบแจงนับ(Enumerated type) เป็นการกำหนดประเภทข้อมูลขึ้นใหม่ เพื่อสะดวกต่อการเขียนโปรแกรม เช่น 1 คือ เชียงใหม่ 2 คือ กรุงเทพ if dest = 1 then price := 500 else dest = 2 then price := 1000;

แบบแจงนับ ถ้า ประกาศ TYPE destination = (Chiangmai,Bangkok,Lampang); VAR dest : destination; ผู้ใช้สามารถเขียนโปรแกรมให้เข้าใจง่ายขึ้นดังนี้ if dest = Chiangmai then price := 500 else if dest = Bangkok then price := 1000;

แบบแจงนับ รูปแบบ TYPE ชื่อแบบข้อมูล = (ไอเดนติไฟเออร์, ไอเดนติไฟเออร์); ข้อมูลที่ประกาศในวงเล็บต้องเป็น ไอเดนติไฟเออร์เท่านั้น ห้ามเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือ ค่าคงที่ เพราะจะทำให้ค่าซ้ำกับค่าคงที่ที่อยู่ในของมูลประเภทอื่นๆ กินเนื้อที่ 1 ไบท์ และ ไอเดนติไฟเออร์มีไม่เกิน 256 ตัว

แบบแจงนับ ของมูลแบบแจงนับเป็นข้อมูลมีลำดับ เริ่มจาก 0 จึงใช้ฟังก์ชัน ord,pred,succ ได้ การกำหนดแบบแจงนับที่ผิด TYPE even = (2,4,6,8,10); vowel = (‘A’,’E’,’I’,’O’,’U’); day = (‘sun’,’mon’,’tue’,’wed’,’thu’,’fri’,’sat’);

แบบแจงนับ การกำหนดแบบแจงนับที่ถูกต้อง TYPE status = (single,married,divorced,widow); vowel = (A,E,I,O,U); day = (sun,mon,tue,wed,thu,fri,sat); อาจประกาศภายใต้ VAR VAR week = (sun,mon,tue,wed,thu,fri,sat);

แบบแจงนับ การประกาศแบบแจงนับ ไม่สามารถใช้กับคำสั่ง Read กับ Write ได้โดยตรง เช่น read(vowel); write(vowel); ต้องอาศัยคำสั่ง IF หรือ CASE เช่น CASE vowel OF A : write(‘A’); : U : write(‘U’); END;

แบบแจงนับ โปรแกรมแสดงจำนวนวันในแต่ละเดือน Program dayinmonth; Uses Wincrt; type monthtype(nul,jan,feb,mar,apr,may,jun,jul,aug,sep,oct,nov,dec);

แบบแจงนับ var month : monthtype; ch :string [3]; begin for month := jan to dec do write('month number ',ord(month),' have');

แบบแจงนับ case month of jan,mar,may,jul,aug,oct,dec : writeln(' 31 days'); apr,jun,sep,nov : writeln(' 30 days'); feb : writeln(' 28 or 29 days'); end; end.

แบบย่อย (Subrange type) แบบย่อย เป็นส่วนย่อยที่เป็นช่วงข้อมูลแบบมีลำดับ คือ Integer ,char , boolean หรือ แบบแจงนับ รูปแบบ type ชื่อแบบข้อมูล = ค่าต่ำสุด..ค่าสูงสุด;

ตัวอย่างแบบย่อย TYPE point = 0.. Maxint; letter = ‘A’..’Z’; workday = mon..fri; weekend = sat..sun; Point เป็นข้อมูลย่อยของ Integer letterเป็นข้อมูลย่อยของ Char workday / weekend เป็นข้อมูลย่อยของ ข้อมูลแบบแจงนับ

แบบกำหนดใหม่โดยใช้ข้อมูลเดิม ผู้ใช้สามารถนำข้อมูลเดิมมาประกอบเป็นโครงสร้างข้อมูลใหม่ เช่น เรคอร์ด อาร์เรย์ เช่น TYPE roomtype = array [1..5,1..8] of integer;

แบบกำหนดใหม่โดยใช้ข้อมูลเดิม Type maxstring = string[255]; nametype = string[30]; employrec = record name : string [30]; age : bye; end; Var employ : employrec; prince : array [1..35] of real; name : nametype; procedure read(name:nametype);