นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
Advertisements

สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ. 4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แนวทางการ ดำเนินงานที่สำคัญ ตุลาคม พันธกิจ สวรส.  สร้าง / จัดการความรู้เพื่อการ พัฒนาระบบสุขภาพ  เน้นการวิจัยเชิงระบบ (system approach) และวิจัยในประเด็นปัญหาสำคัญของระบบ.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
หลักในการทำงานของ ปลัดกระทรวง สาธารณสุข นายแพทย์ณรงค์ สห เมธาพัฒน์
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
ที่มา : ของการพัฒนาระบบ 1. ยังไม่มีการติดตามรายรับที่จัดเก็บได้อย่าง จริงจัง ทำให้ไม่ทราบสถานการณ์ทางการเงินของ ส่วนงาน 2. การประมาณการรายรับสูงกว่ารายรับจริงที่
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ นายแพทย์อำนวย กาจีนะ ที่ปรึกษาระดับกระทรวงสาธารณสุข และผู้อำนวยการกลุ่มประกันสุขภาพ 1 ตุลาคม 2551 โรงแรมบางกอกพาเลช

การพัฒนาระบบการคลังสุขภาพ และเศรษกิจฐานสุขภาพ สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน การพัฒนาระบบการคลังสุขภาพ และเศรษกิจฐานสุขภาพ Top-Down & Buttom-Up 1)เพิ่มศักยภาพนโยบายUC หรืองานขาขึ้น(Top-Down) 2)กำกับติดตามสถานการณ์ ทางการเงินUC หน่วยงานสป. 3) คุณภาพมาตราฐานข้อมูลทางบัญชีเพื่อที่องกรจัดการUC 4) ติดตามข้อมูลประสิทธิภาพการบริการ & การลงทุนUC/ต่างด้วย/SSS-เอกชน&รัฐ 5)HRD เพิ่ม Perfomance 6) พัมนาโครงสร้างองค์กรและการจัดการ(เน้นOut-Soucrcing) เพื่อแก้ปัญหาHR 7) สร้างเครือข่ายหน่วยด้าน R&D(เช้านสวรส. &HIPP) 8) เน้นการสื่อสารบนล่าง&ระนาบ

วัตถุประสงค์ของการพัฒนาระบบงานคลัง สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน วัตถุประสงค์ของการพัฒนาระบบงานคลัง การกระจายทรัพยากรสุขภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม สามารถบริหารจัดการด้านการเงินการคลังประกันสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำไปบริหารจัดการเครือข่ายสถานบริการได้เหมาะสม 4. เกิดกลไกการประเมินผลและการเฝ้าระวังสถานการณ์ทางการเงินการคลังของหน่วย -การมีข้อมูลการเงินการบัญชีที่ดีย่อมแสดงให้เห็นว่า มีการ นำทรัพยากรสุขภาพไปใช้อย่างมีความคุ้มค่าสมเหตุสมผล -มีการวางแผนการเงินการคลังเพื่อใช้เป็นกลไกการจ่ายเงิน จากผู้ซื้อบริการ (Purchaser) ไปยังผู้จัดบริการ (Provider) -สร้างระบบการช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างเครือข่ายสถาน บริการ -พัฒนาเครื่องมือในการเฝ้าระวังสถานการณ์การเงินการ คลังของหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ อัตราส่วนทางการเงินเป็นเครื่องมือ

ความสำคัญของการบัญชี สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน ความสำคัญของการบัญชี นำข้อมูลการเงินการบัญชีไปใช้ในการบริหารจัดการภายในหน่วยบริการ สามารถประเมิน ติดตาม เปรียบเทียบ ผลการดำเนินงานทั้งภายในและระหว่างหน่วยงาน - เป็นข้อมูลสนับสนุนเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการให้บริการ

รายงานทางการเงิน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท รายงานทางการเงิน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน รายงานทางการเงินตามรูปแบบบัญชีการเงิน (Financial Accounting Report) 2. รายงานทางการเงินตามรูปแบบบัญชีบริหาร (Managerial Accounting Report ) การบัญชีการเงิน เป็นการจัดทำงบการเงินและรายงานทางการเงินอื่นๆ สำหรับบุคคลภายนอก การบัญชีบริหาร เป็นการใช้เทคนิคทางการบัญชีและการรวบรวมข้อมูลจากรายงานการเงินและจากแหล่งต่างๆ เพื่อนำข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ในการตัดสินใจ วางแผน สั่งการ และควบคุมการปฏิบัติงานขององค์กร

การวิเคราะห์ทางการเงิน สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน การวิเคราะห์ทางการเงิน ประโยชน์ของการวิเคราะห์ - ประเมินผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของ หน่วยงาน - ใช้วางแผนทางการเงินในอนาคต - เป็นแนวทางสำหรับการควบคุมภายใน - เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการปฏิบัติงานบัญชี การวิเคราะห์ทางการเงิน เป็นการจัดทำขึ้นโดยใช้ความสัมพันธ์ของข้อมูลทางด้านการเงินและสถิติมาคำนวณเพื่อนำผลลัพธ์ของข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน ควบคุม และประเมินผลการดำเนินงานของสถานพยาบาล

แนวทางการจัดสรรเงินรายหัวปี 2552 สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน งบเหมาจ่ายรายหัวอัตรา 2,202 บาทต่อหัว จัดสรรแบบล่วงหน้า เป็นรายไตรมาส ๆ ละ 25% โอนเงินตามข้อมูลการ จัดสรรจริง 1 ครั้ง ในงวดที่ 2 ของปี 2553 (ประมาณมกราคม) สปสช.จังหวัด เป็นผู้บริหารจัดการตามสภาพปัญหาแต่ละพื้นที่ การปรับเกลี่ยเงินระหว่างหน่วยบริการได้ตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน ร้อยละ 20 (เฉพาะภายในวงเงินของการบริการเดียวกัน) กันเงินไว้ที่ สสจ. ได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของจำนวนเงินที่เป็นผลรวมของวงเงินการบริการผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอกและการให้บริการส่งเสริมป้องกัน (PP- expressed demand) **จัดให้มีเงินสำหรับจ่ายเพิ่มเติมให้หน่วยบริการตามผลงาน 2 ส่วนคือ ผลงานการส่งข้อมูลการบริการ OPD/PP ผลงานการส่งข้อมูลการเงินการคลังของหน่วยบริการ

การพัฒนาผังบัญชีภาคสุขภาพ สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน การพัฒนาผังบัญชีภาคสุขภาพ นำไปเป็นเครื่องมือในการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน - การปรับผังบัญชีมาตรฐานเพื่อใช้ในระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) สาเหตุสำคัญของการพัฒนาผังบัญชี 1.นำไปเป็นเครื่องมือในการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงานด้วย สปสช. มีการกำหนดรหัสเงินกองทุนชัดเจน -กองทุนผู้ป่วยนอก OP ใช้รหัส 52-01-00-00-0000 -กองทุนผู้ป่วยใน IP ใช้รหัส 52-02-00-00-0000 สามารถวางแผนงบประมาณ และติดตามการใช้จ่ายเงินได้ 2.กรมบัญชีกลางได้มีการปรับปรุงระบบงานตามโครงการ ปรับปรุง GFMIS ส่วนขยายระยะที่ 2 ระงับการใช้งานบัญชีแยกประเภทที่ไม่มีหน่วยงานภาครัฐ ใดใช้ ยุบรวมบัญชีค่าใช้จ่ายให้เหลือน้อยลง เพิ่มบัญชีรายได้ ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงานเพื่อประโยชน์ ต่อการรายงานและวิเคราะห์รายการปรับคำอธิบายบัญชีให้ ชัดเจนขึ้น ส่งผลต่อผังบัญชีเดิมปี 2550

การดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศการคลัง ของกระทรวงสาธารณสุข สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน การดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศการคลัง ของกระทรวงสาธารณสุข 1. พัฒนาคุณภาพระบบการบัญชีของหน่วยบริการ - กำหนดเกณฑ์การประเมินคุณภาพ - ผู้ตรวจสอบรายงานการเงินของกระทรวง สาธารณสุข เกณฑ์การประเมินคุณภาพ -ความครบถ้วน หมายถึง มีการส่งงบทดลองครบทั้งหน่วยบริการแม่ข่ายและลูกข่ายเป็นประจำทุกเดือน -ความทันเวลา หมายถึง มีการส่งงบทดลองในระยะเวลาที่กำหนด ภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไปเป็นประจำทุกเดือน -ความถูกต้อง หมายถึงงบทดลองหรือชุดข้อมูลที่ส่งมีความถูกต้องตามหลักการบัญชีและนโยบายบัญชีที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกำหนด ผู้ตรวจสอบรายงานการเงินของ กสธ. -คัดเลือกนักบัญชีในภูมิภาคจากเขตต่าง ๆ เขตละ 2-4 คน เข้ามาร่วมทำงานเป็นทีมกลาง เมื่อผ่านการอบรมแล้ว ได้จัดทำแผนการตรวจและลงพื้นที่

การดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศการคลังของกระทรวงสาธารณสุข สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน การดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศการคลังของกระทรวงสาธารณสุข 2 . เริ่มต้นระบบข้อมูลสารสนเทศการบริการ (servelink) - มีระบบฐานข้อมูลมาตรฐาน 12 แฟ้ม ให้มีการนำเข้าข้อมูลจากฐานข้อมูลมาตรฐาน 12 แฟ้มประกอบไปด้วยข้อมูล 3 กลุ่มจัดเก็บใน เครื่องแม่ข่าย (Server) กลุ่มประกันสุขภาพคือ 1 ข้อมูลผู้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาล 2 กลุ่มข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยและหัตถการ รักษาพยาบาล 3 กลุ่มข้อมูลการใช้ทรัพยากรในการรักษา และ การจ่ายค่ารักษา

การดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศการคลังของกระทรวงสาธารณสุข สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน การดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศการคลังของกระทรวงสาธารณสุข พัฒนาเครื่องมือและกลไกการเฝ้าระวัง สถานการณ์ทางการเงิน (FASNet) เพื่อพัฒนาระบบรายงานทางการเงินการคลัง หน่วยบริการ พัฒนาข้อมูลการติดตามและการเฝ้าระวัง สถานการณ์การเงินการคลังด้วยดัชนีชี้วัดทาง การเงินการคลังสาธารณสุข - เพื่อศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลการเฝ้าระวังสถานการณ์ การเงินการคลังเพื่อใช้ประโยชน์ในการขับเคลื่อน นโยบายและยุทธศาสตร์

เกณฑ์ระดับความรุนแรง สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน สถานการณ์ทางการเงิน cash ratio QR CR Avg Pay Peri Service cost Avg Non-UC Coll peri. รุนแรงระดับ 1 <0.8 <1 <1.5 Good High poor รุนแรงระดับ 2 รุนแรงระดับ 3 Low รุนแรงระดับ 4 รุนแรงระดับ 5 >0.8 good/poor   รุนแรงระดับ 6 รุนแรงระดับ 7 ดัชนีวิเคราะห์ทางการเงินปี 2551 ที่ใช้ในส่วนกลางมีประมาณ 22 ตัว แต่ที่นำมาใช้เพื่อกำหนดความรุนแรง สถานะทางการเงิน มี 6 ตัวคือ 1. Cash Ratio 2. Quick Ratio 3. Current Ratio 4. Average Payment Period (ระยะเวลาถัวเฉลี่ยชำระ หนี้การค้า) 5. Service Cost (ต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อผู้ป่วยใน) 6. Average Non-UC Collection Period (ระยะเวลาถัว เฉลี่ยเก็บลูกหนี้ค่ารักษา Non-UC)

จำนวนโรงพยาบาลที่ประสบปัญหารอบ 9 เดือน (มิ.ย.51) เขต ผลรวมรพ.ที่มีปัญหา(แห่ง) ระดับ1 ระดับ2 ระดับ3 ระดับ4 ระดับ5 ระดับ6 ระดับ7 1 21   2 15 13 5 7 4 6 3 8 10 11 12 18 14 16 17 19 รวม 120 9 25 62 จำนวนโรงพยาบาลที่ประสบปัญหารอบ 9 เดือน จำแนกเป็นรายเขต มีจำนวนทั้งสิ้น 120 แห่ง (จากข้อมูลที่ได้รับรายงาน 820 แห่ง)

คะแนนเชิงคุณภาพ ไตรมาสที่ 3 (มิ.ย. 51) สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน 30 คะแนน 29.9 -25 24.9 - 20 คะแนน 19.9 - 15 คะแนน 14.9 -1 0 คะแนน < 10 รวม รพศ. (แห่ง) 12 6 2 4 1  0 25 รพท. (แห่ง) 32 26 5 69 รพช. (แห่ง) 361 288 46 19 14 8 736 รวม  405 320 52 28 16 9 830 มีหน่วยบริการที่ส่งข้อมูลทั้งสิ้น 830 แห่ง (รพช.เปิดใหม่ 1 แห่ง คือ รพช.เบญจลักษณ์ จ. ศรีสะเกษ)

สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน แผนการพัฒนางาน สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน พัฒนาต้นแบบการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังใน หน่วยบริการกระทรวงสาธารณสุข (Model Development) กำหนดต้นทุนบริการ วางแผนงบประมาณ การติดตามกำกับหน่วยบริการให้มีประสิทธิภาพ

สู่เศรษฐกิจสุขภาพที่ยั่งยืน แผนการพัฒนางาน เชื่อมโยงฐานข้อมูลการให้บริการเข้ากับฐานข้อมูลการเงินการคลัง - ทราบต้นทุนบริการที่แท้จริง - มีข้อเสนอเพื่อของบประมาณการให้บริการที่สะท้อน ความเป็นจริง การเชื่อมโยงฐานข้อมูลการให้บริการเข้ากับ ฐานข้อมูลทางการเงิน จะช่วยให้สามารถ วิเคราะห์ต้นทุนบริการที่แท้จริง ซึ่งช่วยให้ กระทรวงสาธารณสุขนำไปใช้ในการขอ งบประมาณการให้บริการได้ใกล้เคียงความเป็น จริงมากขึ้น