สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ตำบลหนองยาว อ.เมือง จ.สระบุรี
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (THINK)
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
การเสวนาเรื่อง “สุขภาวะสู่อุมมะฮ์ (ประชาชาติ) ที่เข้มแข็ง”
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ผู้สูงอายุไทย : ปัจจุบันและอนาคต
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
สถานการณ์ด้านสังคมและสุขภาพ ที่ต้องเจอ
สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ข้อมูลที่น่าสนใจ ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
งบประมาณเพื่อการวิจัย ตามวาระการวิจัยแห่งชาติ
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
ผู้สูงอายุไทยในทศวรรษหน้า
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
แผนเชิงรุกการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2551 โดยคณะทำงานยกร่างแผนงานเชิงรุก กระทรวงสาธารณสุข-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ชูวิทย์
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอหนองม่วง จังหวัดลพบุรี
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
เทรนด์ “สุขภาพโลก” ในปี 2555
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ผู้สูงอายุ
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์

Population of Thailand 11.7 ประชากรรวม (ต.ค.52) 66.9 ล้านคน ชาย : หญิง 32.9 : 34.0 ล้านคน

Thailand Population Pyramid Source – Statistics Thailand 1960, 1980, 2000. National Statistics Organization. Population Projection 2020. Institute for Population and Social Research, Mahidol University http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsr/AllAboutPopulation.

ใครคือผู้สูงอายุ ? USA: ≥ 65 ปี UK, THAILAND: ≥ 60 ปี AFRICA: ≥ 50 ปี

อัตราส่วนประชากรผู้สูงอายุทั่วโลก UN, 2007

ประเทศที่มีอัตราส่วนผู้สูงอายุมากที่สุด อายุ ≥ 60 ปี ลำดับที่ ญี่ปุ่น 27.9 1 อิตาลี 26.4 2 เยอรมัน 25.3 3 ไทย 11.0 68 UN, 2007

Create by Siriphan K. .

ท้าทายความสามารถของสังคมด้วย การที่ประชากรมีอายุยืนยาวขึ้นถือว่าเป็นชัยชนะของมวลมนุษยชาติ แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นการ ท้าทายความสามารถของสังคมด้วย “Population ageing is a triumph of humanity but also a challenge to society” WHO at Geneva, 2002 http://www.who.int/ageing/active_ageing/en/index.html

ประเทศไทย :สังคมผู้สูงอาย(Aging Society) ร้อยละประชากรผู้สูงอายุ 58.8 วัยต้น 31.7 วัยกลาง 9.5 วัยปลาย ไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ตั้งแต่ 48 เช่นเดียวกับสิงคโปร์ ญี่ปุ่น ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ

อายุคาดเฉลี่ยของคนไทย 10.9 แหล่งที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ http://www2.m-society.go.th/document/edoc/edoc_892.pdf

การกระจายตัวของประชากรผู้สูงอายุ .

อัตราผู้สูงอายุแต่ละภาค พ.ศ. 2550

การกระจายตัวของประชากรผู้สูงอายุ จำนวนสูงสุด 5 จว.แรก นครราชสีมา เชียงใหม่ ขอนแก่น นครศรีธรรมราช อุบลราชธานี

สถานภาพสมรสผู้สูงอายุ

ลักษณะการอยู่อาศัย ปัญหาการอยู่คนเดียว

พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ ทั้งสอง การออกกำลังกายสม่ำเสมอ สุรา บุหรี่

โรควิถีชีวิต มะเร็ง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ หลอดเลือดสมอง

อัตราการเป็นโรคเรื้อรัง มะเร็ง 0.5 หลอดเลือดสมองตีบ 1.6 อัมพาต อัมพฤกษ์ 2.5 หัวใจ 7.0 เบาหวาน 13.3 ความดันโลหิตสูง 31.7

กลุ่มที่ 1 ผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ 60-69 ปี) เป็นผู้ที่ยังแข็งแรง สุขภาพดี อยู่ได้ตามลำพัง เป็นอิสระ ช่วยเหลือตนเองได้ ควรมีการจรรโลง สุขภาพที่ดีไว้ กลุ่มที่ 2 ผู้สูงอายุตอนปลาย (อายุ 70-79 ปี) ถ้าไม่มีโรค ประจำตัวและดูแลสุขภาพดีก็ยังแข็งแรง แต่ต้องพึ่งพิง ควรได้รับการ ช่วยเหลือในชีวิตประจำวัน และการเฝ้าระวังทางสุขภาพ กลุ่มที่ 3 ผู้สูงอายุสูงสุด (อายุ 80 ปีขึ้นไป) ต้องการผู้ดูแล ช่วยเหลือในชีวิตประจำวันต้องการดูแลด้านการแพทย์และเวชศาสตร์ ผู้สูงอายุตามสาเหตุ ซึ่งอาจจะเป็นการดูแลที่บ้านหรือสถานพยาบาลที่ ต้องการความต่อเนื่องของบริการที่มีลักษณะแบบบูรณาการ

แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 1. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุดูแลช่วยเหลือตนเองให้ได้อยู่ใน ครอบครัวที่มีความเอื้ออาทร โดยชุมชนมีส่วนร่วมช่วยเหลือ หน่วยงานบริการทางการแพทย์หรือทางสังคมจะเข้าไปช่วยเหลือ เมื่อมีความต้องการหรือมีปัญหา 2. แบ่งกลุ่มผู้สูงอายุตามนิยามขององค์การสหประชาชาติเป็น 3 กลุ่ม เพื่อการแลช่วยเหลือที่แตกต่างกันตามความเหมาะสมของ สภาวะทางกาย ทางจิต และสภาวะพึ่งพิง รวมถึงความต้องการที่ แตกต่างกัน

ขอบคุณค่ะ .