ทีมงานผลิตรายการโทรทัศน์ The Television Team

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารการจัดการประชุม ให้ประสบความสำเร็จ
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
ภาพโครงการเรียนรู้สร้างศิลปะในฝัน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
รายชื่อผู้ศึกษาดูงาน
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
การบริหารกลุ่มและทีม
กล้องอัตโนมัติเพื่อการตรวจจับการฝ่าฝืนสัญญาณไฟ (Red-Light Camera)
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
เปิดโลกนอกกะลา.
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
ซอฟต์แวร์.
โครงสร้างองค์การของโรงแรม
วิชาการบริหารงานศูนย์สื่อการศึกษา
สายสัญญาณที่ต่อกับเครื่อง LCD Projector
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอความกรุณาแจ้ง รายละเอียดเกี่ยวกับ ระบบ conference และบุคลากรดูแล ระบบ ทางเว็บไซต์ สพท. ละ 2 ท่าน ทุกรายการ เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการ.
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
บทนำ วิชานาฏยหัตถกรรม Stage Crafts (อ.เมษา อุทัยรัตน์)
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาพยนตร์
การผลิตภาพยนตร์ การฝึกอบรมหลักสูตรภาคปฏิบัติ ปี 2552
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
CLIP V I D I O จุดประสงค์การเรียนรู้ และสื่อการ สอน
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
Character - actor. Character - actor นายธีร์ บุณย์เกรียงไกร อายุ 20 ปี ส่วนสูง 160 ซม. น้ำหนัก 57 กก. นักศึกษาปี 3 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
แนวทางการก้าวสู่การเป็น
การวางผังของสถานประกอบการ
ศัพท์ทางเทคนิคกับการถ่ายทำและควบคุมกล้อง
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
ช่างเทคนิคโตโยต้า >> ช่างเทคนิคโตโยต้าคืออะไร
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
ลิฟต์.
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
นางสาวชุติมา อักขราภรณ์ ตอนB19
โครงสร้างขององค์การ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
โดย นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
การเขียนบทโทรทัศน์ สุรพล บุญลือ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
กระบวนการทำงานและบุคลากร
บทที่8 การเขียน Storyboard.
อาชีพตามกลุ่มบุคลิกภาพ
การสร้างสรรค์บทละคร.
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
หลักการบันทึกเสียง.
บทที่1 การบริหารการผลิต
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
Title.
บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
ศัพท์เทคนิค...ในศิลปะการละคร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทีมงานผลิตรายการโทรทัศน์ The Television Team ทีมงานสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ 1. ทีมงานสร้างสรรค์ (Production Staff) : มีหน้าที่สร้างสรรค์รายการ creative มักเรียกคนกลุ่มนี้ว่า above the line หรือ พวกแนวหน้า 2. ทีมงานเทคนิค (Production Crew) : เป็นทีมงานผลิตที่ต้องเกี่ยวข้องกับเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ เรียกกลุ่มนี้ว่า below the line หรือ พวกแนวหลัง

ทีมงานสร้างสรรค์ (Production Staff) 1.1 ผู้อำนวยการผลิต (Producer) : มีอำนาจหน้าที่สูงสุดในการบริหารจัดการผลิตในภาพรวมทั้งหมด ตัดสินใจในเรื่องต่างๆ : แบ่งเป็น Executive P. กับ Line P. 1.2 ผู้กำกับรายการ (Director) : รับผิดชอบการผลิตรายการ ควบคุมการแสดง และผู้ร่วมงานด้านเทคนิค

1.3 ผู้ช่วยผู้กำกับรายการ (Assistant Director /AD) : ช่วยเตรียมนักแสดง กล้อง เทปต่างๆ ที่ใช้ประกอบรายการให้เป็นไปตามคิว ควบคุมเวลาในแต่ละช่วงรายการ : สำหรับการถ่ายทำละคร อาจมีผู้ช่วยได้หลายคน เรียก ผู้ช่วย 1 , ผู้ช่วย 2 : ผู้ช่วย 1 อยู่ใกล้ผู้กำกับ ร่วมปรึกษางาน : ผู้ช่วย 2 ดูแลความเรียบร้อยบริเวณ production area , คุม Extra

1.4 ผู้จัดการกองถ่าย (Production Manager) : ควบคุมความเรียบร้อยของกองถ่าย ควบคุมคิวจัดลำดับการถ่ายทำ รับผิดชอบการเงิน : สำหรับการถ่ายทำละคร เป็นผู้จัดทำ break down และโทรนัดหมายคิวนักแสดง

1.5 ผู้ช่วยกองถ่าย (Production Assistant /PA) : การถ่ายในสตูดิโอ มีหน้าที่ถือคิวการ์ด จดบันทึกการแก้ไขสคริปต์ ช่วยเหลือผู้ช่วยผู้กำกับ : คอยประสานงานทั่วไปในกองถ่าย เรียกนักแสดงเข้าฉาก แจ้งลำดับการถ่ายทำในแต่ละฉากให้ทุกฝ่ายได้ทราบ 1.6 ผู้เขียนบท (Script writer) : สามารถจับประเด็นสำคัญแล้วถ่ายทอดให้เป็นถ้อยคำที่เหมาะสมกับสื่อโทรทัศน์ : ในงานละคร ต้องมีจินตนาการ รู้จักแตกฉาก แตกตัวละคร เขียนให้รายละเอียดในบทสนทนาได้ดี

1.7 ผู้กำกับเวที (Floor Manager /Stage Manager) : รับผิดชอบความเรียบร้อยในสตูดิโอ โดยรับคำสั่งจากผู้กำกับผ่านหูฟัง หรืออินเตอร์คอม headset or intercom : คอยให้คิวพิธีกร นักแสดง โดยใช้สัญญาณมือ 1.8 ฝ่ายสถานที่ (Location) : ใช้ในงานละคร จัดหาสถานที่ถ่ายทำให้สอดคล้องกับบท และความต้องการของผู้กำกับ

ข้อควรคำนึงถึงในการหา location เดินทางได้สะดวก / มีที่จอดรถ มีพื้นที่ให้ทีมงานเตรียมงาน มีห้องน้ำ ค่าเช่าสถานที่ไม่แพงเกินไป สะดวกในการถ่ายทำ (เจ้าของให้ความร่วมมือ / ไทยมุงน้อย)

รถที่ใช้ในการออกกอง รถ OB (outside broadcasting) / รถกล้อง รถขนอุปกรณ์ไฟ รถเครื่องปั่นไฟ รถเสื้อผ้า รถฉาก รถรับ-ส่งพนักงาน รถอาหาร-เครื่องดื่ม อื่นๆ (รถขนเครน)

2. ทีมงานเทคนิค (Production Crew) 2.1 ผู้กำกับเทคนิค (Technical Director /TD / Switcher) : กดปุ่ม switcher เลือกภาพตามคำสั่งของผู้กำกับ : ต้องประสาทสัมผัสดี 2.2 วิศวกรเสียง (Audio Engineer) : ผสมเสียงจากแหล่งสัญญาณเสียงต่างๆ เข้าด้วยกัน ปรับแต่งให้ balance : การถ่ายละคร ระวังเรื่อง noise

2.3 ผู้กำกับแสง (Lighting Director / Gaffer) : วางแผนและออกแบบการจัดแสง แสงเป็นตัวสร้างอารมณ์และโทนของรายการ : ทีมจัดไฟ เรียก light man : Night for day / Day for night 2.4 ผู้ออกแบบฉาก หรือผู้กำกับศิลป์ (Scene Designer /Art Director / Property) : คิดประดิษฐ์ สร้างฉากในรายการ และหาอุปกรณ์ประกอบฉาก

2.5 ตากล้อง (Camera Operators) : คอยรับคำสั่งการจับภาพจากผู้กำกับ ผ่านทางหูฟัง ต้องรวดเร็วแม่นยำในการจับภาพ 2.6 ผู้ช่วยตากล้อง (Camera Assistant /Cable man) : ดูแลอุปกรณ์กล้อง สายกล้อง เคลื่อนกล้องบนราง dolly

2.7 วิศวกรด้านภาพ (Video Engineer) : รับผิดชอบด้านคุณภาพทางเทคนิคของภาพที่กล้องจับ เช่น ดูระดับความสว่าง ความคมชัด ความสมดุลของสี 2.8 เจ้าหน้าที่บันทึกเทป (Video tape recorder) : คุมการทำงานของเครื่องบันทึกเทป เช่น เดินเทป หยุดเทป เช็คเทป : นั่งข้าง switcher

1. ฝ่ายเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย (Costume) นอกจากการแบ่งทีมงานเป็นฝ่ายสร้างสรรค์ และฝ่ายเทคนิคแล้ว ยังมีทีมงานอื่นๆ อีก คือ 1. ฝ่ายเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย (Costume) : ในงานละคร ต้องมีทีมงานหลายคนเพื่อดูแลการเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย และเช็คความต่อเนื่อง 2. ช่างแต่งหน้า ทำผม (Make up Artist & Hair Stylist) : ในงานละคร ต้องสามารถแต่ง effect ได้ ระวังเรื่องความต่อเนื่อง

3. สวัสดิการ : ดูแลเรื่องอาหาร น้ำดื่ม : ปฐมพยาบาลทีมงาน และนักแสดง