การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
รายวิชา ง40206 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เว็บเซอร์วิสเรียกง่าย
การเขียนผังงาน.
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
Utility (โปรแกรมอรรถประโยชน์)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Algorithms.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
ภาษาคอมพิวเตอร์.
ซอฟต์แวร์.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 2 วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
Surachai Wachirahatthapong
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Flow Chart INT1103 Computer Programming
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Introduction : Principle of Programming
การพัฒนาระบบประยุกต์
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
ผังงาน (FLOW CHART) ส่วนประกอบของผังงาน (Flow Chart)
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
กระบวนการทำงานและบุคลากร
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
การทำซ้ำ (for).
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม บทที่ 1 กระบวนการเขียนโปรแกรม

โปรแกรม(Program) ความหมายคือ กลุ่มคำสั่ง หรือลำดับคำสั่ง ที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ Programmer : ผู้ที่ทำหน้าที่ในการกำหนดคำสั่ง System Analyst : ผู้ที่ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์ออกแบบระบบ User : ผู้ใช้งานระบบ

กระบวนการเขียนโปรแกรม การกำหนดปัญหา : Problem definition การสร้างอัลกอริธึมและรหัสเทียม : Algorithm and Pseudocode การสร้างผังงานโปรแกรม : Program Flowchart การเขียนโปรแกรม : Source Coding การทดสอบและแก้ไข : Testing and Debugging การจัดทำเอกสารประกอบโปรแกรม : Document

กระบวนการเขียนโปรแกรม กำหนดปัญหา ทำเอกสาร ประกอบ การสร้างอัลกอริธึมและรหัสเทียม การสร้างผังงาน การเขียนโปรแกรม การทดสอบและแก้ไข

กำหนดปัญหา หาความต้องการของโจทย์ เช่น ผลลัพท์ที่ต้องการ ข้อมูลที่ต้องใช้ในการประมวลผล วิธีการที่ต้องทำ

สร้างอัลกอริธึม ลำดับขั้นตอนการทำงานอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่มจะได้ผลลัพท์ที่ต้องการ โดยควรคำนึงว่า คอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่งทีละคำสั่งตามลำดับ คอมพิวเตอร์จะเปรียบเทียบค่าได้ทีละ 2 ค่า อัลกอริธึมที่ดี ใช้ข้อความสั้น ได้ใจความ ใช้ภาษาเข้าใจง่าย มี 1คำสั่งต่อ 1 ขั้นตอน ใช้ภาษาที่ตีความได้ความหมายเดียว สามารถนำไปเขียน Pseudocode ได้

Pseudocode ลำดับขั้นตอนที่เขียนย่อๆ ด้วยคำภาษาอังกฤษ หรือภาษาคอมพิวเตอร์ โดยไม่คำนึงถึงความถูกต้อง ตามหลักไวยกรณ์ของภาษานั้น

การสร้างผังงานโปรแกรม นำอัลกอริธึมหรือรหัสเทียมมาเขียนใหม่ โดยใช้สัญลักษณ์สากล ผังงานจะบอกลำดับการทำงานและการเชื่อมโยงคำสั่ง

การเขียนโปรแกรม นำผังงานที่เขียน(flow chart) มาเขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เขียนโดยยึดหลักความถูกต้องตามหลักไวยกรณ์ของภาษา ภาษาที่เขียนเราเรียกว่า Source Code ซึ่งเมื่อทำการแปลแล้วจะได้ Object Code Source Code Translation Object Code

การทดสอบและแก้ไข ทดสอบการทำงานของโปรแกรมด้วยข้อมูลตัวอย่าง เก็บรวบรวมข้อผิดพลาด เพื่อนำไปแก้ไขจนกว่าจะได้คำตอบที่ถูกต้อง 100%

จัดทำเอกสาร ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของโปรแกรม การแก้ปัญหาของโปรแกรม ข้อมูลที่ต้องนำเข้า รูปแบบผลลัพท์ที่แสดงผล การเขียนอาจแทรกไว้ในตัวโปรแกรมด้วย

องค์ประกอบของงาน Input : การรับข้อมูลเข้า เพื่อนำไปประมวลผลต่อ Decision : การตัดสินใจเลือกกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง จากเงื่อนไขที่มีอยู่ Process : ขั้นตอนในการประมวลผล หรือการกระทำต่อข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ อันหมายถึง + - * / เป็นต้น Output : คือขั้นตอนในการแสดงผลลัพท์ การกำหนดรูปแบบผลลัพท์ซึ่งอาจเป็นจอภาพ หรือ เครื่องพิมพ์

ลักษณะองค์ประกอบของงาน บางงาน อาจมีไม่ครบทุกองค์ประกอบก็ได้ เช่นอาจมีแค่ input - process - output เป็นต้น งานไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับแบบเดิมทุกครั้งไป การทำงานจริงอาจเริ่มที่ output ก่อนก็ได้แล้วค่อย input ก็ได้

Quiz ?