โครงสร้างการทำงานของ OS

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
3. วิธีทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศมีกี่วิธีอะไรบ้าง
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Process Synchronization
กระบวนการ (Process).
ระบบปฏิบัติการ อ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร.
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Distributed Administration
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
Script Programming& Internet Programming
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
ซอฟต์แวร์.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
? คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อะไรนะ ?
Surachai Wachirahatthapong
Operating System ฉ NASA 4.
หน่วยความจำเสมือน Virtual Memory.
บทที่ 2 การทำงานของ PC.
การทำงานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ ผศ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร zenready.blogspot.com.
ระบบปฏิบัติการ ผู้สอน ผศ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร chandra. ac
แนะนำรายวิชา ระบบปฏิบัติการ ภาคเรียนที่ 1/2557
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
CSC420 Operating Systems ผู้สอน : อ.สุรชัย ดียิ่ง ห้องเรียน : 5-357
Memory Management ในยุคก่อน
CSC431 Computer Network System
บทที่ 8 File Management. ประเด็นที่ต้องพิจารณา ถ้าต้องการเก็บข้อมูลจะเก็บข้อมูลไว้ที่ไหน สามารถเก็บข้อมูลตรงไปยัง media โดยไม่ต้อง จัดรูปแบบการเก็บได้หรือไม่
Charter 11 1 Chapter 11 ระบบปฏิบัติการ Operation System : OS.
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการและ หลักการทำงานเบื้องต้น
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
หน่วยบันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การจัดการฐานข้อมูล.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
บทที่ 5 ซอฟต์แวร์ระบบ.
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Operating System
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างการทำงานของ OS

บทบาทต่างๆของ OS ควบคุมตัวมันเอง ติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ทำงานได้ถูกต้อง ทำงานได้รวดเร็ว ความปลอดภัยภายใน ติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น โปรโตคอลต่างๆ การุกรานจากภายนอก ไวรัส, ม้าโทรจัน, แฮกเกอร์

OS จะทำอย่างไรให้แข็งแรงและเร็ว ความเร็วในการทำงานของซอฟท์แวร์ขึ้นอยู่กับอะไร Clock Cycle การออกแบบอัลกอริธึม จำนวนบรรทัดของโค๊ด การใช้ฮาร์ดแวร์ การทำงานในลักษณะโครงสร้าง หรือ Modular สร้างง่าย เป็นระบบ ตรวจสอบง่าย เพิ่มเติมง่าย

องค์ประกอบของ OS การจัดการกระบวนการ (Process Mamagement) การจัดการหน่วยความจำ (Main Memory Management) การจัดการไฟล์ (File Management) การจัดการ I/O (I/O Management) การจัดการสื่อสำรองเก็บข้อมูล (Secondary Storage Management) บริการเครือข่าย (Networking) ระบบป้องกัน (Protection System) ระบบแปลคำสั่ง (Command Interpreter System)

การจัดการกระบวนการ เป็นงานที่สำคัญที่สุดของ OS กระบวนการก็คือโปรแกรมที่กำลังทำงาน (Running) 1.สร้างและทำลายกระบวนการ 2. ยืดการทำงานของกระบวนการและให้ทำงานต่อได้ 3. จัดการการประสานจังหวะระหว่างกระบวนการ 4. จัดการการสื่อสารระหว่างกระบวนการ 5. ป้องกันการเกิดล็อกตาย (Deadlock)

การจัดการหน่วยความจำ หน่วยความจำเป็นทรัพยากรที่สำคัญมาก ทุกๆกระบวนการต้องใช้หน่วยความจำก่อนป้อนคำสั่งให้ CPU 1.เก็บข้อมูลว่าพื้นที่ใน RAM ส่วนต่างๆนั้นถูกใช้โดยใครบ้าง 2.ตัดสินใจว่าจะให้กระบวนการไหนถูกโหลดเข้ามาอยู่ใน RAM บ้าง เมื่อมีพื้นที่ว่างใน RAM เกิดขึ้น หรือแม้กระทั่งการนำกระบวนการออกจาก RAM ไปฝากไว้ใน Harddisk ด้วย จองและคืนพื้นที่เมื่อต้องการ (Allocation,Deallocation)

การจัดการไฟล์ ไฟล์คือข้อมูลที่เก็บอยู่ในสื่อต่างๆ เก็บได้ถาวร จะจัดการอย่างไรให้ ค้นหาได้ถูกต้อง รวดเร็ว ไม่สร้างปัญหาต่อสื่อ เช่น Bad Sector,Fragment 1.สร้าง, ลบไฟล์ สร้าง,ลบ ไดเร็กทอรี 2.การดำเนินการกับเนื้อหาในไฟล์ (Manipulating) 3.แปลงไฟล์ไปเก็บในสื่อต่างๆ 4.สำรองข้อมูลของไฟล์ต่างๆ

การจัดการ I/O จุดสำคัญของ I/O ก็คือมันต้องติดต่อกับ CPU แต่มันทำงานได้ช้ากว่า CPU มาก ดังนั้นการใช้หน่วยความจำเป็นสิ่งที่จำเป็นมาก 1.การจัดการด้วยหน่วยความจำ Buffer,DMA,Cache,spooling 2.ส่วนของ Device Driver แบบทั่วไป (Keyboard, VGA) แบบพิเศษ (Scanner, Digital Camera)

การจัดการหน่วยความจำสำรอง เก็บข้อมูลได้ถาวร ทำอย่างไรให้อ่าน/เขียนข้อมูล ได้อย่างรวดเร็ว 1. การจัดการพื้นที่ว่าง 2. การจองพื้นที่ว่าง การจัดตารางการเข้าถึงดิสก์

ระบบเครือข่าย และตัวแปลคำสั่ง user OS จะต้องรองรับในเรื่องเครือข่ายด้วย 1. โปรโตคอลต่างๆ 2. บริการต่างๆ 3. ความปลอดภัย ตัวแปลคำสั่ง ตัวหนังสือ (Text) รูปภาพ (Graphics) Shell กับ Kernel Command Shell Kernel

Discuss ให้ นศ. แบ่งกลุ่มแล้วปรึกษากัน เพื่อตอบคำถามดังต่อไปนี้ 1.ส่วนต่างๆที่กล่าวมาทั้งหมดนั้นจะทำงานได้อย่างไร ทำงานเมื่อไหร่ 2. เมื่อต้องการเพิ่มฮาร์ดแวร์ใหม่ๆให้กับ OS ทางผู้ผลิตควรทำอย่างไร 3.การเก็บไฟล์ในฮาร์ดดิสก์น่าจะมีหลักการอย่างไร กลุ่มที่ตอบเป็นกลุ่มสุดท้าย จะต้องร้องเพลง

OS ต่างๆในแวดวง Windows Linux UNIX Macintosh DOS Solaris,Berkley,HP, SCO,etc. Macintosh DOS

Open Source ไอเดียใหม่ที่ต้องตาม Linux เราสามารถรู้ Source Code ของ OS ได้ทั้งหมด Windows เรารู้อะไรบ้าง ?

สรุป OS จะมีการแบ่งการทำงานออกเป็นส่วนๆ เพื่อความเป็นระบบ การบ้าน ให้ น.ศ. ไปค้นคว้าข้อมูลให้ลึกมากที่สุดเกี่ยวกับ OS โดยเลือก OS ใดก็ได้ แล้วทำ Presentation มาเสนอหน้าชั้น ส่ง 2 อาทิตย์หน้า (Present + เอกสาร)