บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Training Management Trainee
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
การแจกแจงปกติ.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
การค้นในปริภูมิสถานะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
กราฟเบื้องต้น.
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
กราฟเบื้องต้น.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ความยืดหยุ่น ( Elasticity )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน 3.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ ความยืดหยุ่นไขว้ของอุปสงค์ 3.2 ความยืดหยุ่นของอุปทาน การคำนวณความยืดหยุ่นของอุปทาน ชนิดของความยืดหยุ่นของอุปทาน ความยืดหยุ่นของอุปทานของสินค้าแต่ละชนิดกับค่าความชันของอุปทาน 3.3 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีอุปสงค์และอุปทาน

แนวคิดเรื่องความยืดหยุ่น ความยืดหยุ่น เป็นค่าที่ใช้วัดว่า เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่เป็นเหตุแล้ว จะทำให้ตัวแปรที่กำลังพิจารณาอยู่นั้น (ผล) เปลี่ยนแปลงไปมากน้อยเพียงใด ถ้าเปลี่ยนแปลงไปมากเรียกว่ามีความยืดหยุ่นมาก ถ้าเปลี่ยนแปลงไปน้อยเรียกว่ามีความยืดหยุ่นน้อย และถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปเลยก็เท่ากับว่าไม่มีค่าความยืดหยุ่นเลย ในการหาค่าความยืดหยุ่น จะทำการวัดอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่กำลังพิจารณาอยู่ ไม่ได้วัดเป็นหน่วยเหมือนค่าความชัน ด้วยเหตุนี้ค่าความยืดหยุ่นจึงไม่มีหน่วย ความยืดหยุ่น = % การเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ผล % การเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์เหตุ การศึกษาเรื่องอุปสงค์และอุปทาน ใช้แนวคิดค่าความยืดหยุ่น เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณเสนอซื้อ หรือปริมาณเสนอขาย กับ ปัจจัยที่มีส่วนกำหนดปริมาณดังกล่าว ซึ่งสามารถแยกพิจารณาเป็น ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ และความยืดหยุ่นของอุปทาน

3.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ เป็นการวัดขนาดของความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการเสนอซื้อสินค้าและบริการกับปัจจัยที่มีอิทธิพลกำหนดปริมาณการเสนอซื้อในรูปของเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลง โดยค่านี้จะบอกว่าเมื่อปัจจัยที่มีส่วนกำหนด Qd เปลี่ยนแปลงไป 1% จะมีผลทำให้ Qd เปลี่ยนแปลงไปกี่เปอร์เซ็นต์ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ = %  Qd %  ปัจจัยที่กำหนด Qd ถ้าค่าที่ได้มีค่ามากกว่า 1 เรียกว่าค่าความยืดหยุ่นมาก (Elastic) ถ้าค่าที่ได้มีค่าน้อยกว่า 1 เรียกว่าค่าความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic)

ประเภทความยืดหยุ่นของอุปสงค์ แบ่งตามปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อปริมาณอุปสงค์ คือ ราคา รายได้ และ ราคาสินค้าชนิดอื่น คือ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ (Cross Elasticity of Demand)

3.1.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) : Ed หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการเสนอซื้อสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้น ค่าที่ได้จะอยู่ในรูปค่าสัมบูรณ์ ความยืดหยุ่น : Ed Ed = % ของการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการซื้อ % ของการเปลี่ยนแปลงของราคา Ed = %Q %P

วิธีการคำนวณ Ed 1. การคำนวณแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand) หมายถึง การหาค่าความยืดหยุ่นช่วงใดช่วงหนึ่งบนเส้นอุปสงค์ โดยค่าที่คำนวณได้เป็นค่าถัวเฉลี่ยของค่าความยืดหยุ่นทุกๆ จุด ในช่วงดังกล่าว

P P1 A B P2 P1P2 คือ ส่วนเปลี่ยนแปลงของราคา Q1Q2 คือ ส่วนเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ การหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาของช่วง AB อาจวัดการ เปลี่ยนแปลงจาก A มา B หรือจาก B มา A จะได้ค่าความยืดหยุ่นต่างกัน การวัดจาก A มา B จะใช้ P1 และ Q1 เป็นตัวหาร (เป็นฐาน) แต่การวัดจาก B มา A จะใช้ P2 และ Q2 เป็นตัวหาร (เป็นฐาน) เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหา ในการคำนวณจึงใช้ค่าเฉลี่ยของราคาและปริมาณทั้งสอง P P1 A B P2 D 0 Q1 Q2 Q

Q2 – Q1 x 100% Q2 + Q1 2 Ed (arc) = P2 – P1 x 100% P2 + P1 2 P2 + P1 Q2 – Q1 Ed (arc) = x Q2 + Q1 P2 – P1 P2 + P1 Ed (arc) = Q x Q2 + Q1 P

เช่น P1 = 15 Q1 = 50 และ P2 = 10 Q2 = 90 P2 + P1 Q2 – Q1 Ed (arc) = x Q2 + Q1 P2 – P1 Ed (arc) = 10+15 x 90-50 = 25 x 40 90+50 10-15 140 – 5 = -10 = -1.43 7 P Ed = -1.43 หมายความว่า ถ้าราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณอุปสงค์จะเปลี่ยนแปลงไป 1.43 % ในทิศทางตรงกันข้าม A 15 B 10 D Q 50 90

2. การคำนวณแบบจุด (Point Elasticity of Demand) เป็นการคำนวณหาค่าความยืดหยุ่น ณ จุดใดจุดหนึ่งบนเส้นอุปสงค์ ใช้ในกรณีที่ราคาสินค้ามีการเปลี่ยนแปลงน้อยมากจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ แต่การเปลี่ยนแปลงราคานี้ยังมีผลทำให้ปริมาณการเสนอซื้อเปลี่ยนไป Ed = Q  P Q P = P x Q Q P 1 slope = P x dQ Q dP Ed = P x Q 1 slope

Ed ที่จุด A = (30/15) x -(15/10) = -3 ตัวอย่าง P Ed = P x Q 1 slope A Slope = -(10/15) 30 B 20 D Q 15 30 Ed ที่จุด A = (30/15) x -(15/10) = -3 Ed ที่จุด B = (20/30) x -(15/10) = -1

การหาค่า Ed จากสมการอุปสงค์ เช่น สมการอุปสงค์ Q=35-3P หา Edp ที่ P = 5 P = 5  Q = 35–3(5) = 20 แทนค่าในสูตร Ed = P x Q หรือ = P x dQ Q P Q dP จาก Q = 35-3P dQ = -3 dP Edp = 5 x -3 = -3 = - 0.75 20 4 หมายความว่า เมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณการเสนอซื้อจะเปลี่ยนแปลงไป 0.75% ในทิศทางตรงกันข้าม % Q < % P สมการอุปสงค์นี้ ณ ระดับราคา P = 5 จึงเป็น Inelastic (ค่า Ed < 1)

การหา Point Elasticity of Demand ด้วยวิธีเรขาคณิต เมื่อเส้นอุปสงค์เป็นเส้นตรง Ed = P x 1 Q slope P หาค่า Ed ที่จุด C Ed = OE x 1 OD slope A แทน slope ด้วย AE/EC C E Ed = OE x EC = OE OD AE AE แทน slope ด้วย CD/DB Q D B Ed = OE x DB = DB OD CD OD และด้วยการพิสูจน์ด้วยเรขาคณิต เรื่องสามเหลี่ยมคล้ายที่มีด้านต่อด้านสมนัยกัน Ed = CB AC

ข้อสังเกต : ที่จุด A ค่า Ed < 1 เมื่อเส้นอุปสงค์เป็นเส้นโค้ง หาค่า Ed ณ จุดใดบนเส้นอุปสงค์ทำได้โดยลากเส้นตรงสัมผัสเส้นอุปสงค์ ณ จุดดังกล่าว และหาค่า Ed ที่มีความชันเป็นเส้นตรง ณ จุดนั้น P B Ed = OE = DC = AC EB OD AB A E D ข้อสังเกต : ที่จุด A ค่า Ed < 1 Q D C

ความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคา ในกรณีที่เส้นอุปสงค์เป็นเส้นตรง P Ed =  25 A Ed > 1 20 15 B Ed = 1 12.5 C 10 Ed < 1 5 D Ed = 0 Q 10 20 25 30 40 50

ชนิดของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาและรายรับรวม ชนิดของอุปสงค์ต่างๆ จำแนกตามความยืดหยุ่น อุปสงค์ที่ไม่มีความยืดหยุ่น ( Ed = 0 ) อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อย ( 0< Ed < 1 ) อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นเท่ากับ 1 ( Ed = 1 ) อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมาก ( 1 < Ed <  ) อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ ( Ed =  )

ความยืดหยุ่นอุปสงค์และรายรับรวม เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้รายจ่ายของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปมากน้อยเท่าใดขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคาของสินค้าแต่ละชนิด ผู้ผลิตหรือผู้ขายสามารถนำประโยชน์จากความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคา มาใช้ในการตัดสินใจพิจารณาหารายรับจากการขายได้ รายรับของผู้ผลิต = ราคา X ปริมาณการซื้อ TR = P x Q

อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ตลอดทั้งเส้น P ความสัมพันธ์ของ P และรายรับรวม (Total Revenue = P x Q) มีทิศทางเดียวกัน P   TR  P   TR  D P1 A P2 B Q Q1

อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อยกว่า 1 ความสัมพันธ์ของ P และรายรับรวม (Total Revenue = P x Q) มีทิศทางเดียวกัน P   TR  P   TR  P A P1 B P2 D’ D Q Q1 Q2 Q2’

อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นเท่ากับ 1 ตลอดทั้งเส้น อุปสงค์เป็นเส้นโค้งแบบ Rectangular hyperbolar มีพื้นที่ใต้กราฟเท่ากันตลอด P ความสัมพันธ์ของ P และรายรับรวม (Total Revenue = P x Q) P   TR คงเดิม P   TR คงเดิม A P1 P2 B D Q Q1 Q2

อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมากกว่า 1 ความสัมพันธ์ของ P และรายรับรวม (Total Revenue = P x Q) มีทิศทางตรงกันข้ามกัน P   TR  P   TR  P A P1 B P2 D D’ Q Q1 Q2’ Q2

อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นเท่ากับ  ตลอดทั้งเส้น P ความสัมพันธ์ของ P และรายรับรวม (Total Revenue = P x Q) P   TR = 0 P1 D Q

ความสัมพันธ์ระหว่างค่าความยืดหยุ่น ราคา และรายรับรวม ราคาเพิ่ม ราคาลด Ed > 1 รายรับรวมลดลง รายรับรวมเพิ่มขึ้น Ed < 1 Ed = 1 รายรับรวมคงที่

ปัจจัยกำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา 1. การมีสินค้าทดแทนได้มากหรือน้อย หากมีสินค้าอื่นทดแทนได้มาก Ed > 1 หากมีสินค้าอื่นทดแทนได้น้อย Ed < 1 2. สินค้านั้นเป็นสินค้าประเภทใด หากเป็นสินค้าจำเป็นต่อการบริโภค Ed < 1 หากเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย Ed > 1 3. ระยะเวลา (ที่ทำให้เกิดการปรับตัว) ในระยะสั้น Ed < 1 ในระยะยาว Ed > 1 4. ความทนทานของสินค้า สินค้าที่มีอายุการใช้งานทนทาน Ed < 1 สินค้าที่มีอายุการใช้งานน้อยหรือสั้น Ed > 1 5. สัดส่วนของรายได้ที่ใช้ซื้อสินค้านั้นต่อรายได้ทั้งหมด หากค่าใช้จ่ายซื้อสินค้านั้นต่อรายได้ทั้งหมดมีสัดส่วนมาก Ed > 1 หากค่าใช้จ่ายซื้อสินค้านั้นต่อรายได้ทั้งหมดมีสัดส่วนน้อย Ed < 1

เส้น AB => Ed ณ จุด X = OP < 1 ค่าความยืดหยุ่นกับค่าความชันของอุปสงค์ ค่า slope น้อย => เส้นอุปสงค์จะมี Ed มาก ค่า slope มาก => เส้นอุปสงค์จะมี Ed น้อย Ed = P x 1 Q slope P A เส้น AB => Ed ณ จุด X = OP < 1 PA C เส้น CD => Ed ณ จุด X = OP > 1 PC X P แต่ slope เส้น AB มีค่ามากกว่า slope เส้น CD Q Q B D

หากเส้นอุปสงค์เลื่อนขึ้นไปทางขวามือ ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาเส้นใหม่จะมีค่าลดลง P Ed ที่ E1 บนเส้น AB มีค่า = OP/PA Ed ที่ E2 บนเส้น CD มีค่า = OP/PC จุด E1 มีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าจุด E2 เส้นอุปสงค์ที่อยู่ทางขวา มีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าเส้นที่อยู่ทางซ้าย C A E1 E2 P Q B D

3.1.2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้: Edy Edy = %Qd % Y วิธีการคำนวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้: Edy คำนวณความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) Y2 + Y1 Q2–Q1 Edy (arc) = x Q2 + Q1 Y2–Y1 Y2 + Y1 Edy (arc) = Q x Q2 + Q1 Y

ตัวอย่าง นายดำมีรายได้ 10,000 บาท มีปริมาณการเสนอซื้อ 40 หน่วย ถ้าเขามีรายได้เพิ่มเป็น 15,000 บาท จะมีปริมาณการเสนอซื้อ 50 หน่วย จงหาค่า Edy แบบช่วง Y2 + Y1 Edy (arc) = Q x Q2 + Q1 Y Y1 = 10,000 Q1 = 40 Y2 = 15,000 Q2 = 50 Edy (arc) = = = 0.56 หมายความว่า เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณเสนอซื้อจะเปลี่ยนแปลงไป 0.56% ในทิศทางเดียวกัน ค่า Edy ณ ช่วงรายได้นี้เป็น Inelastic และสินค้าดังกล่าวเป็นสินค้าปกติ ซึ่งอาจจะเป็นสินค้าจำเป็นต่อการครองชีพ

คำนวณความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity) Edy = Q  Y Q Y = Y x Q Q Y 1 slope = Y x dQ Q dY Edp = Y x Q 1 slope

Edy อาจมีเครื่องหมายบวกหรือลบก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของสินค้าว่าเป็นสินค้าประเภทใด สินค้าปกติ (Normal Goods) ความสัมพันธ์ของ Qd กับ Y มีทิศทางเดียวกัน Edy > 0 (+) สินค้าจำเป็น 0 < Edy < 1 สินค้าฟุ่มเฟือย 1 < Edy <  สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) ความสัมพันธ์ของ Qd กับ Y มีทิศทางตรงข้าม Edy < 0 (–)

ตัวอย่าง การคำนวณหา Edy แบบจุด B Edp = Y x Q 1 slope 1,500 500 A 1,000 2/500 2 Edy (A) = 1000 x 2 = 2 2 500 Q 2 4 Edy (B) = 1500 x 2 = 1.5 4 500 หมายความว่า เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงไป 1% ที่ Y = 1,000 บาทปริมาณเสนอซื้อจะเปลี่ยนแปลงไป 2% และที่ Y = 1,500 บาท ปริมาณเสนอซื้อจะเปลี่ยนแปลงไป 1.5% ในทิศทางเดียวกัน ค่า Edy เป็น elastic และสินค้าดังกล่าวเป็นสินค้าปกติ (ค่อนข้างฟุ่มเฟือย)

Edc = % ของการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการซื้อสินค้า A 3.1.3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นๆ หรือความยืดหยุ่นไขว้ (Cross Elasticity of Demand) หมายถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการเสนอซื้อสินค้าชนิดหนึ่งต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง Edc = % ของการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการซื้อสินค้า A % ของการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า B Edc = %QA %PB วิธีการคำนวณ Edc การคำนวณแบบช่วง (Arc Elasticity) PB2 + PB1 QA2 + QA1 x QA2 – QA1 PB2 – PB1 Edc (arc) = PB2 + PB1 QA2+ QA1 x QA PB Edc (arc) =

การคำนวณแบบจุด (Point Elasticity) Edc = QA  PB QA PB = PB x QA QA PB 1 slope = PB x dQA QA dPB Edc = PB x QA 1 slope

ค่า Edc จะมีเครื่องหมายบวกหรือลบ ขึ้นกับสินค้าที่พิจารณา มีความสัมพันธ์อย่างไร สินค้าทดแทนกัน (Substitution Goods) ค่า Edc จะเป็นบวก (Edc>0) ความสัมพันธ์ของราคาสินค้าชนิดหนึ่ง กับปริมาณของสินค้าอีกชนิดหนึ่งจะมีทิศทางเดียวกัน คือ PB  QA , PB   QA  สินค้าประกอบกัน (Complementary Goods) ค่า Edc จะเป็นลบ (Edc<0) ความสัมพันธ์ของราคาสินค้าชนิดหนึ่ง กับปริมาณของสินค้าอีกชนิดหนึ่งจะมีทิศทางตรงกันข้ามกัน คือ PBQA , PBQA สินค้าไม่มีความเกี่ยวข้องกัน ค่า Edc จะเป็นศูนย์ (Edc=0)

เช่น PB1 = 20 QA1 = 80 และ PB2 = 30 QA2 = 60 PB2 + PB1 QA2 – QA1 Edc (arc) = x QA2 + QA1 PB2 – PB1 Edc (arc) = 30+20 x 60-80 = 50 x – 20 80+60 30-20 140 10 = -5 = - 0.7 7 PB Edp = -0.7 หมายความว่า ถ้าราคาสินค้า B เปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณอุปสงค์สินค้า A จะเปลี่ยนแปลงไป 0.7% ในทิศทางตรงกันข้าม แสดงว่า A กับ B เป็นสินค้าที่ใช้ประกอบกัน M 30 N 20 D QA 60 80

Edc ที่จุด M = (30/60) x -(2) = -1 ตัวอย่าง PB Edc = PB x QA 1 slope M Slope = -(10/20) = -1/2 30 N 20 D QA 60 80 Edc ที่จุด M = (30/60) x -(2) = -1 Edc ที่จุด N = (20/80) x -(2) = -1/2

3.2 ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา : Es หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการเสนอขายสินค้าและบริการต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้น เป็นการวัดอัตราการตอบสนองของปริมาณความต้องการขาย ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาโดยเปรียบเทียบในรูปของร้อยละ ค่าที่ได้จะอยู่ในรูปค่าสมบูรณ์ Es = % ของการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอขาย % ของการเปลี่ยนแปลงของราคา Es = %Q %P Q ในที่นี้คือปริมาณเสนอขายหรือปริมาณอุปทาน

3.2.1 การคำนวณความยืดหยุ่นของอุปทาน 3.2.1 การคำนวณความยืดหยุ่นของอุปทาน 1. การคำนวณแบบช่วง (Arc Elasticity of Supply) P2 + P1 Q2 – Q1 Es (arc) = x Q2 + Q1 P2 – P1 P2 + P1 Es (arc) = Q x Q2 + Q1 P 2. การคำนวณแบบจุด (Point Elasticity of Supply) Es = Q  P Q P = P x Q Q P 1 slope = P x dQ Q dP Es = P x Q 1 slope ค่าของ Es จะมีเครื่องหมายเป็นบวก ตามกฎของอุปทาน

เช่น P1 = 3 Q1 = 10,000 และ P2 = 5 Q2 = 15,000 P2 + P1 Q2 – Q1 Es (arc) = x Q2 + Q1 P2 – P1 Es (arc) = 3+5 x 15,000-10,000 15,000+10,000 5-3 = 8 x 5,000 = 0.8 25,000 2 P S Es = 0.8 หมายความว่า ถ้าราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณอุปทานจะเปลี่ยนแปลงไป 0.8% ในทิศทางเดียวกัน B 5 A 3 Q 10,000 15,000

การหา Point Elasticity of Supply ด้วยวิธีเรขาคณิต 1. เส้นอุปทานออกจากแกนนอน Es = P x Q 1 slope P S Es ที่จุด X X D แทนความชันด้วย XB AB Es = OD x AB = AB OB XB OB แทนความชันด้วย DF DX Q Es = OD x DX = OD OB DF DF B A F Es < 1 เส้นอุปทานซึ่งออกจากแกนนอน (ความชันเป็นบวก) ES เป็น Inelastic (Es<1) ตลอดทั้งเส้น ไม่ว่าจะหาค่าที่จุดใดบนเส้นอุปทาน

Es > 1 2. เส้นอุปทานออกจากแกนตั้ง 1 Ed = P x slope Q P S 2. เส้นอุปทานออกจากแกนตั้ง 1 slope Ed = P x Q P S Es ที่จุด C C D แทนความชันด้วย CE AE Es = OD x AE = AE OE CE OE แทนความชันด้วย BD DC B Es = OD x DC = OD OE BD BD Q A E Es > 1 เส้นอุปทานซึ่งออกจากแกนตั้ง (ความชันเป็นบวก) ES เป็น elastic (Es>1) ตลอดทั้งเส้น ไม่ว่าจะหาค่าที่จุดใดบนเส้นอุปทาน

3. เส้นอุปทานออกจากจุดกำเนิด 1 slope Es = P x Q P S Es ที่จุด C C D แทนความชันด้วย CE OE Es = OD x OE = 1 OE CE Q E เส้นอุปทานซึ่งออกจากจุดกำเนิด (ความชันเป็นบวก) Es เป็นUnitary (Es=1) ตลอดทั้งเส้น ไม่ว่าจะหาค่าที่จุดใดบนเส้นอุปทาน

3.2.2 ชนิดของอุปทานต่างๆ จำแนกตามความยืดหยุ่น 3.2.2 ชนิดของอุปทานต่างๆ จำแนกตามความยืดหยุ่น อุปทานที่ไม่มีความยืดหยุ่น ( Es = 0 ) อุปทานที่มีความยืดหยุ่นน้อย ( 0< Es < 1 ) อุปทานที่มีความยืดหยุ่นเท่ากับ 1 ( Es = 1 ) อุปทานที่มีความยืดหยุ่นมาก ( 1 < Es< ∞ ) อุปทานที่มีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ ( Es = ∞ )

อุปทานไม่มีความยืดหยุ่นหรือ มีความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ตลอดเส้น (perfectly inelastic supply) ราคา Es = 0 S ปริมาณเสนอขาย (supply) จะคงเดิมไม่ว่าราคาจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร P2 P1 เส้น S เป็นเส้นตั้งฉากกับแกนนอน ปริมาณผลผลิต Q1

เส้น S เป็นเส้นค่อนข้างชัน โดยมีจุดตัดที่แกนนอน ณ ราคา 0 อุปทานมีความยืดหยุ่นน้อยกว่า 1 ตลอดเส้น (relatively inelastic supply) ราคา 0< Es < 1 S ปริมาณเสนอขาย (supply) เปลี่ยนแปลงไปใน % ที่น้อยกว่า % ของราคาที่เปลี่ยนแปลงไป P2 P1 เส้น S เป็นเส้นค่อนข้างชัน โดยมีจุดตัดที่แกนนอน ณ ราคา 0 ปริมาณผลผลิต Q1 Q2

เส้น S เป็นเส้นตรงออกจากจุดกำเนิด อุปทานมีความยืดหยุ่นเท่ากับ 1 ตลอดเส้น (unitary elastic supply) Es = 1 ราคา ปริมาณเสนอขาย (supply) เปลี่ยนแปลงไปใน % ที่เท่ากันกับ % ของราคาที่เปลี่ยนแปลงไป S P2 P1 เส้น S เป็นเส้นตรงออกจากจุดกำเนิด ปริมาณผลผลิต Q1 Q2

เส้น S เป็นเส้นค่อนข้างลาด โดยมีจุดตัดที่แกนตั้ง ณ ราคา 0 อุปทานมีความยืดหยุ่นมากกว่า 1 ตลอดเส้น (relatively elastic supply) 1 < Es <  ราคา ปริมาณเสนอขาย (supply) เปลี่ยนแปลงไปใน % ที่มากกว่า % ของราคาที่เปลี่ยนแปลงไป S P2 P1 เส้น S เป็นเส้นค่อนข้างลาด โดยมีจุดตัดที่แกนตั้ง ณ ราคา 0 ปริมาณผลผลิต Q1 Q2

เส้น S เป็นเส้นขนานกับแกนนอน อุปทานมีความยืดหยุ่นเท่ากับอนันต์ตลอดเส้น (perfectly elastic supply) ราคา Es =  ปริมาณเสนอขาย (supply) มีไม่จำกัด ณ ระดับราคาหนึ่ง แต่ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กน้อย จะไม่มีการเสนอขายสินค้านั้นเลย P1 S เส้น S เป็นเส้นขนานกับแกนนอน ปริมาณผลผลิต

นอกจากนี้เส้นอุปทานที่มีลักษณะเป็นเส้นโค้งแบบ Rectangular Hyperbola จะมีค่า ES ตั้งแต่ 0  Q

3.2.3 ความยืดหยุ่นกับค่าความชันของอุปทาน 3.2.3 ความยืดหยุ่นกับค่าความชันของอุปทาน ความยืดหยุ่นกับความชันของเส้นอุปทาน มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงข้าม ที่จุด E P 1 slope Es = P x Q S2 S1 Es1 = OP x BQ OQ EQ E P BQ>AQ Es2 = OP x AQ OQ EQ Es1 > Es2 Q B A Q เส้นอุปทานที่มีค่า slope มาก (เส้น S1)  ES น้อย เส้นอุปทานที่มีค่า slope น้อย (เส้น S2)  ES มาก

3.2.4 ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน 3.2.4 ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน ความยากง่ายในการเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิตหรือการเสนอขาย เป็นเรื่องสำคัญ ที่ทำให้อุปทานมีความยืดหยุ่นมากหรอน้อย คือตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาได้ดีเพียงใด ซึ่งขึ้นกับหลายปัจจัย เช่น ชนิดของสินค้า เช่น สินค้าเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม ระยะเวลา ได้แก่ ระยะเฉพาะหน้า ระยะสั้น ระยะยาว อื่นๆ เช่น ปัจจัยการผลิตหาได้ยากหรือง่าย จำนวนของปัจจัยการผลิตมีมากหรือน้อย ความยุ่งยากของกระบวนการผลิต การเข้า-ออกจากอุตสาหกรรมการผลิตยากหรือง่าย

3.3 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีอุปสงค์และอุปทานและค่าความยืดหยุ่น การกำหนดราคาสินค้าของหน่วยธุรกิจ การตัดสินใจในการบริหารงานของหน่วยธุรกิจ นโยบายราคาสินค้าเกษตร นโยบายภาษี การให้เงินอุดหนุนแก่ผู้ผลิต

การกำหนดราคาสินค้าของหน่วยธุรกิจ ค่าความยืดหยุ่น แนวทางการตั้งราคา เพื่อให้ได้รายรับรวมเพิ่มขึ้น Ed > 1 ลดราคา เพื่อให้รายรับรวมเพิ่มขึ้น Ed < 1 เพิ่มราคา เพื่อให้รายรับรวมเพิ่มขึ้น การตัดสินใจในการบริหารงานของหน่วยธุรกิจ เช่น การใช้เครื่องจักรแทนแรงงาน ต้องพิจารณาถึง อุปทานของเครื่องจักรชนิดนั้นเป็นอย่างไร อุปทานแรงงาน/อุปสงค์แรงงานในตลาดเป็นอย่างไร

นโยบายราคาสินค้าเกษตร โดยปกติ อุปสงค์สินค้าและอุปทานสินค้าเกษตร มีความยืดหยุ่นต่อราคาต่ำรัฐบาลจึงเช้ามาช่วยเหลือเกษตรกร โดยใช้นโยบายต่างๆ เช่น การจำกัดปริมาณผลผลิตให้เหมาะสม การกำหนดราคาขั้นต่ำ หากอุปสงค์และอุปทานของสินค้าเกษตรมีค่า Ed และ Es แตกต่างกัน การช่วยเหลือของรัฐบาลจะให้ผลแตกต่างไปด้วย

การประกันราคาขั้นต่ำ (Price support) หากราคาดุลยภาพที่ Pe เป็นราคาที่ต่ำเกินไป รัฐบาลตั้งราคาประกันไว้ที่ Pf รัฐบาลรับซื้ออุปทานส่วนเกิน Ed และ Es มาก Ed และ Es น้อย P P S อุปทานส่วนเกิน S อุปทานส่วนเกิน A B A Pf Pf B E E Pe Pe งบประมาณที่ใช้ D D Q Q Q1 Qe Q2 Q1 Qe Q2

นโยบายภาษี รัฐบาลมักใช้การเก็บภาษีเป็นนโยบายในการกระจายรายได้และจัดสรรทรัพยากร โดยอาจเก็บจากผู้ผลิต (ผู้ขาย) หรือเก็บจากผู้บริโภค ผลกระทบจากการเก็บภาษีจะเป็นอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับเก็บภาษีจากใคร และลักษณะของภาษีที่จัดเก็บเป็นประเภทใด เช่น เป็น ภาษีตามสภาพหรือภาษีที่เรียกเก็บต่อหน่วยที่ขาย (specific tax) หรือเป็น ภาษีตามมูลค่าสินค้าหรือภาษีที่เรียกเก็บเป็นเปอร์เซ็นต์ของราคาขาย (ad valorem tax)

เก็บภาษีตามมูลค่าสินค้า เก็บภาษีจากผู้บริโภค เก็บภาษีตามสภาพ เก็บภาษีตามมูลค่าสินค้า P P P0 P0 TAX TAX P1 P1 D0 D0 D1 D1 Q Q Q0 Q0 รัฐบาลจะเก็บภาษีเท่ากันในทุกหน่วยของสินค้าที่ถูกนำออกขาย เช่น ถ้าเก็บหน่วยละ 2 บาท เมื่อผู้บริโภคซื้อไป 10 หน่วย จะต้องเสียภาษี 20 บาท ถ้าซื้อ 25 หน่วยจะเสียภาษี 50 บาท รัฐบาลจะเก็บภาษีคิดเป็น% ตามราคาขาย ยิ่งราคาขายสูงขึ้นก็จะยิ่งเสียภาษีเป็นจำนวนมากขึ้น แม้จะคิดเป็น% ที่เท่าเดิม เช่น เสียภาษี 10% ถ้าราคา 10 บาท เสีย 1 บาท และราคา 20 บาท เสีย 2 บาท

เก็บภาษีตามมูลค่าสินค้า เก็บภาษีจากผู้ขาย เก็บภาษีตามสภาพ เก็บภาษีตามมูลค่าสินค้า S1 P P S1 S0 S0 P1 P1 TAX TAX P0 P0 Q Q Q0 Q0 รัฐบาลจะเก็บภาษีเท่ากันในทุกหน่วยของสินค้าที่ถูกนำออกขาย เช่น ถ้าเก็บหน่วยละ 2 บาท เมื่อผู้ผลิตขายได้ 10 หน่วย จะต้องเสียภาษี 20 บาท ถ้าขายได้ 25 หน่วยจะเสียภาษี 50 บาท รัฐบาลจะเก็บภาษีคิดเป็น% ตามราคาขาย ยิ่งราคาขายสูงขึ้นก็จะยิ่งเสียภาษีเป็นจำนวนมากขึ้น แม้จะคิดเป็น% ที่เท่าเดิม เช่น เสียภาษี 10% ถ้าราคา 10 บาท เสีย 1 บาท และราคา 20 บาท เสีย 2 บาท

จำนวนภาษีที่เรียกเก็บต่อหน่วย เก็บภาษีตามสภาพจากผู้บริโภค P P Ed > 1 Ed < 1 P P จำนวนภาษีที่เรียกเก็บต่อหน่วย D0 D0 D1 D1 Q Q Q0 Q0 Q1 Q1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอซื้อสินค้าในเส้น D ที่มี Ed > 1 มีมากกว่าการเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอซื้อสินค้าในเส้น D ที่มี Ed < 1 (เปลี่ยนจาก Q0  Q1)

จำนวนภาษีที่เรียกเก็บต่อหน่วย เก็บภาษีตามสภาพจากผู้ขาย Es > 1 Es < 1 P P S1 S1 S0 S0 จำนวนภาษีที่เรียกเก็บต่อหน่วย P P Q Q Q1 Q0 Q1 Q0 การเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอขายสินค้าในเส้น D ที่มี Ed > 1 มีมากกว่าการเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอขายสินค้าในเส้น D ที่มี Ed < 1 (เปลี่ยนจาก Q0  Q1)

เก็บภาษีตามมูลค่าสินค้าจากผู้บริโภค P P Ed > 1 Ed < 1 P P จำนวนภาษีที่เก็บ D0 D0 D1 D1 Q Q Q0 Q1 Q1 Q0 การเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอซื้อสินค้าในเส้น D ที่มี Ed > 1 มีมากกว่าการเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอซื้อสินค้าในเส้น D ที่มี Ed < 1 (เปลี่ยนจาก Q0  Q1)

เก็บภาษีตามมูลค่าสินค้าจากผู้ขาย Es > 1 Es < 1 P P S1 S1 S0 S0 จำนวนภาษีที่เก็บ P P Q Q Q1 Q0 Q1 Q0 การเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอขายสินค้าในเส้น D ที่มี Ed > 1 มีมากกว่าการเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอขายสินค้าในเส้น D ที่มี Ed < 1 (เปลี่ยนจาก Q0  Q1)

ภาระภาษี เมื่อรัฐบาลเก็บภาษี การที่อุปสงค์และอุปทานมี Ed และ ES ที่แตกต่างกัน การรับภาระภาษีจะแตกต่างกันด้วย Ed < ES => ผู้ซื้อจะรับภาระภาษีมากกว่าผู้ขาย Ed > ES => ผู้ซื้อจะรับภาระภาษีน้อยกว่าผู้ขาย

Ed = 0 เก็บภาษีจากผู้ขายแบบ Specific tax P D S1 S0 P1 P0 Q Q0 TAX E ผู้บริโภครับภาระภาษีฝ่ายเดียว TAX E Ed = 0 Q Q0

เก็บภาษีจากผู้ขายแบบ Specific tax ผู้บริโภครับภาษี P0 E ผู้ขายรับภาระภาษี P’1 D Q Q1 Q0

เก็บภาษีจากผู้ขายแบบ Specific tax D E ผู้ขายรับภาระ ภาษีฝ่ายเดียว P1 Ed =  Q Q1 Q0

เก็บภาษีจากผู้บริโภคแบบ Specific tax ผู้ขายรับภาระภาษี ฝ่ายเดียว TAX P1 E1 D0 D1 Q Q0

เก็บภาษีจากผู้บริโภคแบบ Specific tax ผู้บริโภครับภาระภาษี E P0 ผู้ขายรับภาระภาษี P1 E1 TAX D0 D1 Q Q1 Q0

การให้เงินอุดหนุน Es มาก Es น้อย รัฐบาลให้เงินอุดหนุนผู้ผลิตเพื่อให้สามารถขยายการผลิตหรือเพิ่มปริมาณการขายได้ การให้เงินอุดหนุน (subsidy) ทำให้เส้นอุปทาน shift ไปทางขวา ปริมาณการเสนอขายสินค้าจะมากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับค่าของ Es Es มาก เมื่อให้เงินอุดหนุน => Q  มาก Es น้อย เมื่อให้เงินอุดหนุน => Q  น้อย S0 P P S0 S1 S1 subsidy P0 P0 subsidy P1 P1 D D Q Q Q0 Q1 Q0 Q1 Es มาก Es น้อย