โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พื้นที่ ๘ ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ ฝั่งซ้าย และพื้นที่ ๑๑ ห้วยสายบาตร
Advertisements

การสัมมนาการจัดการความรู้ในองค์การ(KM) ครั้งที่ 6
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
เรื่องการฟุ้งกระจายของสารเคมีในอากาศ
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
โครงการ “ การพัฒนากลุ่ม งานวิจัยในเครือข่าย อุดมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ” ปี 2549 ( วันที่ 12 กรกฎาคม 2549 ) ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา.
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
อะไรคือ “ไฮบริด”. อะไรคือ “ไฮบริด” ไฮบริด ( hybrid) คือ ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สองระบบทำงานร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการทำงานร่วมกันระหว่างระบบสันดาปภายในที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงทำงานร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบ การตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
เทคโนโลยีน้ำมันแก๊สโซฮอลล์ ( GOSOHOL )
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ต้องจัดทำรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ป
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม
กำหนดการปฐมนิเทศโครงการเท่ห์กินผัก น่ารักกินผลไม้
สารมลพิษทางอากาศเบื้องต้น ที่ควรสนใจ
กำหนดการฝึกอบรม หลักสูตร “ศิลปะการพูดในที่ชุมชนและการพูดในโอกาสต่างๆ”
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
8. 3 ที่มาของปัญหาด้านคุณภาพน้ำ 1.) ประชากรเพิ่ม …. โดยเฉพาะในเขต ชุมชนหนาแน่น 2.) การใช้เทคโนโลยีไม่ถูกวิธี / ใช้มาก / ใช้ ไม่เหมาะสม … เกิดฝนกรดจากการเผา.
หลักสูตร ”การพัฒนาบุคลิกภาพสู่ความสำเร็จ”
ข้อกำหนดท้องถิ่น เรื่อง การควบคุมสถานประกอบกิจการ และการประกอบกิจการ รับซื้อ สะสมยางก้อน หรือยางก้อนถ้วย.
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
08:30-08:45 ตัวแทนโรงเรียนกล่าวเปิดการอบรม แนะนำ วิทยากร วิดีโอ “ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” กิจกรรมสันทนาการ 09:00-09:40 แผนที่ชุมชน.
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ศุภกิจ นันทะวรการ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ 22 มีนาคม 2553
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ลำดับที่ ๘ โรงงานถลุงหรือหลอมเหล็ก
หลักสูตร “ศิลปะการพูดในที่ชุมชนและการเป็นพิธีกร ”
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ Project Feasibility
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
จัดทำโดย ด. ช. กิตติพงษ์ ตากาศ เลขที่ 7 ม.1/8 ด. ช. สุริยะกูล ทวีสุข เลขที่ 6 ม.1/8.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดให้คลังน้ำมันเชื้อเพลิงเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ.
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งสารเบนซีน และสาร 1, 3 - บิวทาไดอีน จากโรงงานอุตสาหกรรมเคมี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กำหนดค่าเฝ้าระวังสำหรับสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 24 ชั่วโมง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 มกราคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ของเมืองขนาดใหญ่ โดยมีแหล่งกำเนิดที่สำคัญ 2 แหล่ง คือ การจราจรและอุตสาหกรรม จากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่าง รวดเร็วจากภาคเกษตรกรรม เปลี่ยนเป็นเป็นภาคอุตสาหกรรม ส่งผลให้ ภาคธุรกิจและจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดความ ต้องการในการเดินทางและการขนส่งมากยิ่งขึ้น เกิดปัญหาจราจรติดขัด เข้าขั้นวิกฤต และทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ การสันดาปของน้ำมัน เชื้อเพลิงไม่สมบูรณ์ มีการระบายสารมลพิษทางท่อไอเสียในสัดส่วนที่เพิ่ม มากขึ้น ดังนั้นบริเวณที่ใกล้ถนนที่มีการจราจรติดขัด จะมีปัญหามลพิษ ทางอากาศที่รุนแรง สารมลพิษที่ระบายเข้าสู่บรรยากาศที่เกิดจาก การ คมนาคมขนส่ง ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซออกไซด์ของ ไนโตรเจน สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน สารตะกั่วและก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แหล่งกำเนิดมลพิษทาง อากาศจากอุตสาหกรรม เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง ทั้งประเภท เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง เช่นถ่านหิน เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว ได้แก่ น้ำมันเตา และน้ำมันดีเซล เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ และก๊าซ LPG เป็นต้น ไอเสียจากกระบวนการผลิตอาจประกอบด้วย สารอินทรีย์ระเหยจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี สารประกอบไดออกซินและฟู รานที่เกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ ไอระเหยที่ประกอบด้วยโลหะหนักเป็น ต้น มลพิษอากาศส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ส่งผลต่อ ระบบนิเวศ เช่นการตกสะสมของกรด และสารมลพิษต่างๆลงสู่พื้นดินและ แหล่งน้ำ และอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน คณะวิทยาศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาศาสตร์ ศรีราชา ตระหนักถึงปัญหามลพิษอากาศในภาคตะวันออก เนื่องจากเป็น ที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมหลักของประเทศ ทั้งอุตสาหกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ อุตสาหกรรมสิ่งทอ และ อาหาร เป็นต้น และเป็นที่ตั้งของท่าเรือน้ำลึกที่มีการขนถ่ายสินค้า เป็นแหล่งเกษตรกรรม และการท่องเที่ยว รวมถึงปัญหาการจราจร ดังนั้นคณะวิทยาศาสตร์ศรี ราชาจึงจัดโครงการอบรมเชิงวิชาการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในภาคตะวันออก” เพื่อถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับ มลพิษอากาศที่เกิดขึ้นในภาคตะวันออก การเยี่ยมชมสถานีตรวจวัดอากาศ และสถานีเก็บน้ำฝน รวมถึงห้องปฏิบัติการการตรวจวิเคราะห์สารมลพิษ อากาศบางชนิด เพื่อสร้างความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญ ของมลพิษอากาศ เพื่อนำไปสู่การป้องกันมลพิษอากาศในอนาคต วันจันทร์ที่ 21 กรกฎาคม 2557 เวลา 8.30 – 16.00 น. ณ ห้องเธียร์เตอร์ อาคารหอสมุดอนุสรณ์ 10 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จัดโดย คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

ไม่เสียค่าธรรมเนียม รับจำนวนจำกัดเพียง 60 คน แบบตอบรับเข้าร่วมประชุมเชิงวิชาการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศในบรรยากาศ ในภาคตะวันออก” วันจันทร์ที่ 21 กรกฎาคม 2557 เวลา 9.00 – 16.00 น. ณ ห้องเธียเตอร์ อาคารอนุสรณ์สถาน 60 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 199 ถนนสุขุมวิท ตำบลทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 **************************************************************************** รายละเอียดผู้เข้าร่วมประชุม 1. นาย/นาง/นางสาว.................................................ตำแหน่ง........................................ หน่วยงาน........................................................................................................................ ที่อยู่................................................................................................................................. โทรศัพท์..................................................โทรสาร .......................................................... E-Mail ……………..................................................................................................... 2. นาย/นาง/นางสาว.................................................ตำแหน่ง........................................ เข้าร่วมการประชุมภาคเช้า เข้าร่วมการ ประชุมภาคบ่าย เข้าร่วมเยี่ยมชมสถานีตรวจวัดอากาศ และ ห้องปฏิบัติการ (รับเพียง 40 คน) กำหนดการ 8.15 – 8.45 น. ลงทะเบียน 8.45 – 10.15 น. พิธีเปิดและบรรยายพิเศษในหัวข้อ “สถานการณ์มลพิษอากาศในภาคตะวันออก” โดยนายสุวรรณ นันทศรุต ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 13 (ชลบุรี) 10.15 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30 – 11.30 น. บรรยายในหัวข้อ “สารอินทรีย์ระเหยจากภาคอุตสาหกรรมและขนส่ง” โดย ดร. พัชราวดี สุวรรณธาดา ผู้อำนวยการส่วนคุณภาพอากาศในบรรยากาศ สำนักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ 11.30 – 12.30 น. บรรยายในหัวข้อ “สถานการณ์การตกสะสมของกรดในประเทศไทย” โดย นายพิเชษฐ์ อธิภาคย์ นักวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชำนาญการ ส่วนคุณภาพอากาศในบรรยากาศ สำนักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ 12.30 – 13.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.30 – 14.00 น. บรรยายในหัวข้อ “สถานการณ์การตกสะสมของกรดในภาคตะวันออก” โดย ผศ. ดร. สุนทรี ขุนทอง คณะวิทยาศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตศรีราชา 14.00 – 14.00 น. บรรยายในหัวข้อ “ผลกระทบของฝุ่นในบรรยากาศจากการขนถ่ายสินค้าบริเวณเกาะสีชัง” โดย ผศ. ดร. ปัญญา แขน้ำแก้ว คณะวิทยาศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตศรีราชา 14.00 – 14.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.15 – 16.00 น. เยี่ยมชมสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ สถานีเก็บตัวอย่างน้ำฝน และห้องปฏิบัติการวิเคราะห์สารมลพิษอากาศ กรุณาส่งแบบตอบรับมายัง โทรสาร 038-354587 หรือที่ e-mail: njuthathip@gmail.com ภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2557 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 038-354-587 ไม่เสียค่าธรรมเนียม รับจำนวนจำกัดเพียง 60 คน แจ้งผลการตอบรับที่ http://www.src.ku.ac.th