สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
คณะศึกษาศาสตร์ กำแพงแสน มก.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
รอบรู้อาเซียน.
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาสังคม Social Development 3 : 2 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
การพัฒนาสังคม Social Development 6 : 23 ม.ค. 55.
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา (Development Theory and Concepts)
Sociology of Development
กรอบแนวความคิดที่ 1 (First Paradigm)
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
ศักยภาพความพร้อมเพื่อการแข่งขัน
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
ทฤษฎี และหลักการพัฒนาชุมชน
 โลกาภิวัฒน์ (Globalization) มาจากคำว่า โลกา + อภิ + วฒฺน หากแปลตามศัพท์ จะหมายความว่า พื้นแผ่นดินที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว Global( ทั่วทั้งโลก.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระราชหฤทัยในความเป็นไปของเมืองไทยและคนไทยอย่างลึกซึ้งและกว้างไกล ได้ทรงวางรากฐานในการพัฒนาชนบท และช่วยเหลือประชาชนให้สามารถพึ่งตนเองได้มีความ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่1 การบริหารการผลิต
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย : ที่มาและทางออก
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01460325 สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา Industrial Sociology ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา

วิกฤตการแห่งการพัฒนา หลังสงครามโลก II 1945 การตั้งองค์การสหประชาชาติ 1943 ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประเทศที่ร่ำรวย/พัฒนาแล้วช่วยเหลือประเทศยากจน/ด้อยพัฒนา ประเทศสหรัฐอเมริกามีบทบาทมาก ประเทศทุกประเทศทั่วโลกมีความเท่าเทียมกัน คำประกาศประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา Truman หน้าที่ประเทศพัฒนาแล้วต้องช่วยเหลือประเทศด้อยพัฒนา

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ประเทศโลกที่ 1 = ประเทศ เสรีนิยมอุตสาหกรรม การแบ่งกลุ่มประเทศเชิงการเมือง ประเทศโลกที่ 2 = ประเทศสังคมนิยม ประเทศโลกที่ 3 = ประเทศ ด้อยการพัฒนา แนวทางความช่วยเหลือ แนวทางเสรีนิยมประชาธิปไตย องค์กรระดับโลกทำหน้าที่ เศรษฐกิจและการเงิน - องค์การสหประชาชาติ เทคนิคและเชี่ยวชาญ - ธนาคารโลก ทหารและการเมือง - กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ความช่วยเหลือปรับปรุงโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานเพื่อเพิ่มกำลังการผลิต ธนาคารโลก ความช่วยเหลือทางเทคนิค ด้านผู้เชี่ยวชาญ คำขอความช่วยเหลือ ประเทศโลกที่ 3 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศสำคัญ ความช่วยเหลือให้แก่ประเทศ ทั่วไป : ขัดข้องเงินทุนสำรอง สกุลดอลลาร์สหรัฐฯ

วิกฤตการแห่งการพัฒนา เร่งรัดอุตสาหกรรมเป็นแกนนำ การสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ Modernization Theory สร้างความเป็นเมือง ปรับระบบการบริหาร ระดับการพัฒนา ปัญหาสะสมและรุนแรง - ความเหลื่อมล้ำและแตกต่าง เศรษฐกิจขยายตัว เมืองเติบโตรวดเร็ว - การพึ่งพาต่างประเทศ การบริการเพิ่มขึ้น - ความถดถอยของประเทศ

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ทางเศรษฐกิจ(Economic) ภาวะการพึ่งพา ทางเศรษฐกิจ(Economic) - การผูกขาดทางการตลาด ผู้ประกอบการในประเทศ เติบโตค่อนข้างช้า ทางการเมือง (Political) - การดำเนินนโยบาย - การแทรกแซง

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม - ลักษณะเฉพาะทาง ความสัมพันธ์ทางการเมือง ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม - คุณลักษณะทางวัฒนธรรม และจริยธรรมของประเทศ Concrete Situations - ความเป็นมาและพัฒนาการสังคม - พื้นฐานระบบการผลิตและความชำนาญ - ระบบสังคม วัฒนธรรมและการเมือง

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ความมุ่งหมายประเทศกำลังพัฒนา - ศักยภาพการพึ่งตนเอง (Self-reliance) - ขีดความสามารถทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่าง : - ระบบเศรษฐกิจ - เพิ่มอำนาจการเจรจาต่อรอง บรรษัทข้ามชาติ/ทุนนิยม - ระบบสังคม - ภาวะพึ่งพากันปราศจากการ ครอบงำและขูดรีด (Interdependence) - ระบบการเมือง - ระบบวัฒนธรรม - ระบบทรัพยากร

วิกฤตการแห่งการพัฒนา - รายได้ไม่ใช่สิ่งสำคัญต่อ การพัฒนา การเปลี่ยนแปลง ความคิด - อุตสาหกรรมไม่ได้เป็น แนวทางการพัฒนา ความหมายการพัฒนา ที่แท้จริง - กลไกการตลาดไม่ใช่นำไปสู่ การพัฒนาที่ดีเสมอ การพัฒนาเมือง = การพัฒนาชนบท การพัฒนาอุตสาหกรรม = การพัฒนาเกษตรกรรม เทคโนโลยีชั้นสูง = เทคโนโลยีพื้นฐาน ความสมดุล = ความแตกต่าง

วิกฤตการแห่งการพัฒนา บริบทพื้นฐานแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ความสำคัญกับการพัฒนา= ดุลยภาพ ดุลยภาพทางสังคม ดุลยภาพที่เกื้อกูลและ ไม่เกิดความขัดแย้ง กันและกัน ดุลยภาพทางเศรษฐกิจ ดุลยภาพทางสิ่งแวดล้อม