01460325 สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา Industrial Sociology ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
วิกฤตการแห่งการพัฒนา หลังสงครามโลก II 1945 การตั้งองค์การสหประชาชาติ 1943 ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประเทศที่ร่ำรวย/พัฒนาแล้วช่วยเหลือประเทศยากจน/ด้อยพัฒนา ประเทศสหรัฐอเมริกามีบทบาทมาก ประเทศทุกประเทศทั่วโลกมีความเท่าเทียมกัน คำประกาศประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา Truman หน้าที่ประเทศพัฒนาแล้วต้องช่วยเหลือประเทศด้อยพัฒนา
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ประเทศโลกที่ 1 = ประเทศ เสรีนิยมอุตสาหกรรม การแบ่งกลุ่มประเทศเชิงการเมือง ประเทศโลกที่ 2 = ประเทศสังคมนิยม ประเทศโลกที่ 3 = ประเทศ ด้อยการพัฒนา แนวทางความช่วยเหลือ แนวทางเสรีนิยมประชาธิปไตย องค์กรระดับโลกทำหน้าที่ เศรษฐกิจและการเงิน - องค์การสหประชาชาติ เทคนิคและเชี่ยวชาญ - ธนาคารโลก ทหารและการเมือง - กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ความช่วยเหลือปรับปรุงโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานเพื่อเพิ่มกำลังการผลิต ธนาคารโลก ความช่วยเหลือทางเทคนิค ด้านผู้เชี่ยวชาญ คำขอความช่วยเหลือ ประเทศโลกที่ 3 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศสำคัญ ความช่วยเหลือให้แก่ประเทศ ทั่วไป : ขัดข้องเงินทุนสำรอง สกุลดอลลาร์สหรัฐฯ
วิกฤตการแห่งการพัฒนา เร่งรัดอุตสาหกรรมเป็นแกนนำ การสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ Modernization Theory สร้างความเป็นเมือง ปรับระบบการบริหาร ระดับการพัฒนา ปัญหาสะสมและรุนแรง - ความเหลื่อมล้ำและแตกต่าง เศรษฐกิจขยายตัว เมืองเติบโตรวดเร็ว - การพึ่งพาต่างประเทศ การบริการเพิ่มขึ้น - ความถดถอยของประเทศ
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ทางเศรษฐกิจ(Economic) ภาวะการพึ่งพา ทางเศรษฐกิจ(Economic) - การผูกขาดทางการตลาด ผู้ประกอบการในประเทศ เติบโตค่อนข้างช้า ทางการเมือง (Political) - การดำเนินนโยบาย - การแทรกแซง
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม - ลักษณะเฉพาะทาง ความสัมพันธ์ทางการเมือง ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม - คุณลักษณะทางวัฒนธรรม และจริยธรรมของประเทศ Concrete Situations - ความเป็นมาและพัฒนาการสังคม - พื้นฐานระบบการผลิตและความชำนาญ - ระบบสังคม วัฒนธรรมและการเมือง
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ความมุ่งหมายประเทศกำลังพัฒนา - ศักยภาพการพึ่งตนเอง (Self-reliance) - ขีดความสามารถทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่าง : - ระบบเศรษฐกิจ - เพิ่มอำนาจการเจรจาต่อรอง บรรษัทข้ามชาติ/ทุนนิยม - ระบบสังคม - ภาวะพึ่งพากันปราศจากการ ครอบงำและขูดรีด (Interdependence) - ระบบการเมือง - ระบบวัฒนธรรม - ระบบทรัพยากร
วิกฤตการแห่งการพัฒนา - รายได้ไม่ใช่สิ่งสำคัญต่อ การพัฒนา การเปลี่ยนแปลง ความคิด - อุตสาหกรรมไม่ได้เป็น แนวทางการพัฒนา ความหมายการพัฒนา ที่แท้จริง - กลไกการตลาดไม่ใช่นำไปสู่ การพัฒนาที่ดีเสมอ การพัฒนาเมือง = การพัฒนาชนบท การพัฒนาอุตสาหกรรม = การพัฒนาเกษตรกรรม เทคโนโลยีชั้นสูง = เทคโนโลยีพื้นฐาน ความสมดุล = ความแตกต่าง
วิกฤตการแห่งการพัฒนา บริบทพื้นฐานแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ความสำคัญกับการพัฒนา= ดุลยภาพ ดุลยภาพทางสังคม ดุลยภาพที่เกื้อกูลและ ไม่เกิดความขัดแย้ง กันและกัน ดุลยภาพทางเศรษฐกิจ ดุลยภาพทางสิ่งแวดล้อม