ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา (Development Theory and Concepts)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
Advertisements

Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การบริหารกลุ่มและทีม
ผลิตสินค้าและบริการ.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
Participation : Road to Success
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารและกระบวนการวางแผน
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
สรุปการประชุมระดมความคิด
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา (Development Theory and Concepts)

(Community Development) การพัฒนาชุมชน (Community Development)

ประชากรและชุมชนที่ เป็นอยู่จริงในสภาพ Paradigm (กระบวนทัศน์/แนวคิด) ประชากรและชุมชนที่ เป็นอยู่จริงในสภาพ ปัจจุบันมีความแตกต่างกันมาก : - บางชุมชนมีกินมีใช้อย่างเหลือเฟือ - บางชุมชนถ้าได้รับการพัฒนาจะพึ่งพาตนเองได้ - บางชุมชนไม่สามารถช่วยตนเองได้เลย

แนวคิดพื้นฐานการพัฒนา ปรัชญาความเชื่อต่อสังคม 1. มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีความสามารถและมีพลังอัน ซ่อนเร้น (Potential Ability) แฝงอยู่ (ความคิด แรงงาน ทักษะ) หากนำไปใช้อย่างถูกต้องจะเป็นประโยชน์และสร้าง ความสำเร็จได้ 2. มนุษย์ทุกคนจะต้องมีศรัทธาต่อความยุติธรรมของ สังคม (Social Justice) เพื่อลดความเหลื่อมล้ำของชุมชน

แนวคิดพื้นฐานการพัฒนา ปรัชญาความเชื่อต่อสังคม 3. ความไม่รู้ ความดื้อดึง และการใช้กำลังบังคับ จะเป็น อุปสรรคที่สำคัญต่อความสำเร็จ

ปรัชญาความเชื่อการพัฒนา 1. มนุษย์ทุกคนมีคุณค่าและศักดิศรีความเป็นคนเท่ากัน - การปฏิบัติด้วยความยุติธรรม - การมีเกียรติในฐานะเพื่อนมนุษย์ 2. มนุษย์มีความเข้าใจว่า แต่ละบุคคลมีเอกลักษณะ แตกต่างกัน ย่อมมีสิทธิและสามารถที่จะเลือกวิถีการ ดำรงชีพในแนวทางที่ตนต้องการ

ปรัชญาความเชื่อการพัฒนา 3. มนุษย์แต่ละคน หากมีโอกาสย่อมมีความสามารถที่จะ เรียนรู้ เปลี่ยนแปลงทัศนคติ การประพฤติปฏิบัติ การ พัฒนาขีดความสามารถตนเอง และยกระดับความ รับผิดชอบต่อสังคมให้สูงขึ้น ถ้าได้รับการพัฒนา 4. ประชาชนและชุมชนต้องการหลุดพ้นจากสภาพยากจน ความไม่รู้และโรคภัยไข้เจ็บ

ความหมายการพัฒนาชุมชน 1. ขบวนการที่มุ่งส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น โดยความร่วมมืออย่างจริงจังของประชาชน และควรเป็น ความคิดริเริ่มของประชาชนด้วยกัน หากประชาชนไม่รู้จักริเริ่มก็ให้ใช้เทคนิคกระตุ้นเตือน ให้เกิดความคิดริเริ่ม ทั้งนี้เพื่อให้ได้รับการตอบสนองจาก ประชาชนด้วยความกระตือรือร้นอย่างจริงจัง 2. ขบวนการที่มุ่งส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น ทั้งนี้เน้นริเริ่มและการกระทำร่วมมือกันด้วยตนเอง

ความหมายการพัฒนาชุมชน 3. กระบวนการสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม ให้แก่ชุมชนเป็นส่วนรวม โดยชุมชนจะต้องเข้าร่วมอย่าง แข็งขัน และปล่อยให้ชุมชนได้ใช้ความคิดริเริ่มตนเอง และอาจแสวงหาความร่วมมือหรือความสนับสนุนจาก ภายนอก 4. โครงการที่มุ่งส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น โดยกระจายการบริการขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงประชาชน

ลักษณะงานพัฒนาชุมชน Movement ขบวนการ Process กระบวนการ Project โครงการ Program แผนการ

โครงการชุดย่อย Sub-Program โครงการย่อย Sub-Project แผนงาน Plan โครงการชุด/โครงงาน Program โครงการชุดย่อย Sub-Program โครงการ Project โครงการย่อย Sub-Project กิจกรรม Activities งาน Tasks

ความเป็นมาของแนวคิด 1. ยุคสมัยของการบริหารอาณานิคม 1. ยุคสมัยของการบริหารอาณานิคม United Kingdom กำหนดแนวคิดเชิงนโยบายของการ บริหารอาณานิคมไว้ 3 ประการคือ 1) ต้องการคงไว้ซึ่งอิทธิพลในภูมิภาคนั้นๆ อย่างต่อเนื่อง ยาวนาน 2) ต้องการคงไว้ซึ่งแหล่งวัตถุดิบ สำหรับอุตสาหกรรมของ ประเทศ 3) ต้องการคงไว้ให้เป็นตลาดเพื่อการรองรับและการระบาย สินค้า

ความเป็นมาของแนวคิด 1. ยุคสมัยของการบริหารอาณานิคม จึงกำหนดแนวทางของการบริหารอาณานิคม โดยใช้แนวคิด การพัฒนาท้องถิ่นที่เรียกว่า Local Development ซึ่งเป็นการนำเอาความเปลี่ยนแปลงที่สร้างความเจริญสู่ ท้องถิ่น ด้วยความตั้งใจและความร่วมมือร่วมใจของคนในท้องถิ่น ส่วนปัจจัยภายนอกเป็นเพียงการสนับสนุนเพื่อกระตุ้นให้เกิด ความสามัคคี

ประชาคมโลก แบ่งเป็น 2 ค่ายคือ 2. ยุคหลังสงครามโลก II ประชาคมโลก แบ่งเป็น 2 ค่ายคือ 1) กลุ่มประเทศสังคมนิยม 2) กลุ่มประเทศประชาธิปไตย (ทุนนิยม)

2. ยุคหลังสงครามโลก II เกิดการต่อสู้ลิทธิทางการเมือง บรรยากาศของความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศเข้าสู่สภาวะสงครามเย็น แบ่งเป็นฝักใฝ่ ความ กลัวอื่นเกิดจากทฤษฎี Domino แพร่ขยายอย่างกว้างขวางใน เกือบทุกทวีป ทำให้เกิดแนวคิดว่าการที่จะเอาชนะคอมมิวนิสต์ได้ จะต้อง ทำสงครามต่อสู้กับความยากจน โดยมีเป้าหมายอันสำคัญ คือ การทำสงครามช่วงชิงประชาชน เพราะถือเป็นเครื่องชี้วัดของ ความสำเร็จ

คณะผู้เชี่ยวชาญซึ่งร่วมกันประชุมที่ UK ปี 2491 ได้ให้ 2. ยุคหลังสงครามโลก II คณะผู้เชี่ยวชาญซึ่งร่วมกันประชุมที่ UK ปี 2491 ได้ให้ แนวคิดของการพัฒนา ในคำใหม่ที่เรียกว่า “Community Development”

เจ็บ จน โง่

แนวคิดการพัฒนาชุมชน Peter Du Sautoy (U.S.A) 1. ช่วยให้ประชาชนรู้จักช่วยตนเอง (Self-help) 2. ต้องเป็นความต้องการของชุมชน (Felt-need) 3. การพัฒนาในทุกด้าน (Holistic) มิใช่มุ่งการ พัฒนาเพียงเรื่องหนึ่งเรื่องใดเป็นการเฉพาะ เช่น การ พัฒนาการเกษตร การจัดตั้งกองทุนชุมชน

2. Arthur Durham (U.S.A.) 1) จะต้องช่วยให้ประชาชนรู้จักช่วยตนเอง (Self-help) โดยหวังผล ให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นในตัวเอง (Self- confidence) ให้ประชาชนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของในสิ่งที่ทำ (Sense of belonging) 2) จะต้องเกิดจากความรู้สึกต้องการประชาชนเอง (felt- need) มิใช่ความต้องการของเจ้าหน้าที่หรือของรัฐบาลแต่ เพียงฝ่ายเดียว

2. Arthur Durham (U.S.A.) สู่ชุมชนได้กรณีที่ชุมชนมีปัจจัยอย่างจำกัด 3. การพัฒนาอาจขอรับความช่วยเหลือจากภายนอกเข้า สู่ชุมชนได้กรณีที่ชุมชนมีปัจจัยอย่างจำกัด 4. การให้ความสนับสนุนของผู้เชี่ยวชาญต้องประสานงาน สาขา ประสบการณ์ ความร่วมมือและความคิดเข้าด้วยกันเพื่อ มุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน

3. Carl C. Taylor (U.S.A.) การพัฒนาชุมชนจะต้องรักษาคุณค่าของกลุ่มให้มีความ เข้มแข็ง การทำงานของนักพัฒนาจะต้องมีวิธีการที่ดี คือ 1. จะต้องสร้างความเชื่อมั่นว่าจะสามารถเปลี่ยนแปลง ชุมชนของตนเองให้ดีขึ้นกว่าเดิมได้ 2. พัฒนากรจะต้องมีเทคนิคหรือวิธีการจูงใจ หรือส่งเสริม ให้ประชาชนมีความคิดริเริ่มและรู้จักใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ใน ท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ 3. พัฒนากรจะต้องคิดอยู่เสมอว่าตนมิใช่ผู้เชี่ยวชาญใน สาขาหนึ่งสาขาใด แต่เป็นผู้ที่มีความสามารถในการติดต่อ ประสานงาน เป็นคนกลางจำแนก/สนับสนุน ปัญหาต่างๆ ของ ประชาชน

5. รัฐบาลจะต้องปรับปรุงระบบการสื่อสารนำข่าวสู่ชุมชนที่ 3. Carl C. Taylor (U.S.A.) 4. รัฐบาลต้องเป็นผู้รับผิดชอบจัดตั้งองค์การ/หน่วยงาน ในระดับต่างๆ ที่มีขีดความสามารถเพียงพอกับความต้องการ ประชาชน 5. รัฐบาลจะต้องปรับปรุงระบบการสื่อสารนำข่าวสู่ชุมชนที่ มีประสิทธิภาพ 6. การพัฒนากิจกรรมต่างๆ ในชุมชนควรจะกระทำร่วมกัน ในระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และดำเนินงานในแหล่งที่ ประชาชนต้องการ บนพื้นฐานที่เป็นความต้องการประชาชน