การติดตาม และประเมินโครงการ
ความสำคัญของการประเมินโครงการ 1.ช่วยให้สามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างเป็น ประโยชน์เต็มที่ 2.ช่วยให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผน และระยะเวลาที่กำหนด 3.ช่วยลดผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์ของ โครงการ
4.ช่วยควบคุมคุณภาพงาน 5.ช่วยยืนยันและให้หลักฐานในความมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโครงการ 6.ช่วยในการตัดสินใจและกำหนดนโยบาย 7.ช่วยในการกำหนดวัตถุประสงค์และ มาตรฐานการดำเนินงานให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ประเภทของการประเมิน 1. จำแนกตามหลักยึด 2. จำแนกตามจุดมุ่งหมาย 3. จำแนกตามลำดับเวลาในการประเมิน
การจำแนกประเภทการประเมินโครงการ หลักยึด ไม่ยึดวัตถุประสงค์ (Goal free Evaluation) -ผลข้างเคียง/ ผลกระทบอื่นๆ ยึดวัตถุประสงค์ (Goal base Evaluation) -ตัดสินความสำเร็จ/ ล้มเหลว
การจำแนกประเภทการประเมินโครงการ ตามจุดมุ่งหมาย ประเมินสรุปผล (Summative Evaluation) -ความสำเร็จ/ล้มเหลว -ขยาย/ยุติ ประเมินความก้าวหน้า (Formative valuation) -เป็นไปตามแผนหรือไม่ -ปัญหา/อุปสรรค -ปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
การจำแนกประเภทการประเมินโครงการ ลำดับเวลาการประเมิน ก่อนเริ่มโครงการ (preliminary Evaluation) -ความเป็นไปได้ -ความสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ทรัพยากร กิจกรรม สิ้นสุดโครงการ (Final Evaluation) -ผลสำเร็จ -ล้มเหลว -นำไปพัฒนา ขณะดำเนิน การ (Concurrent Evaluation) -เป็นไปตาม หรือไม่ -ปัญหา/ อุปสรรค
เปรียบเทียบการประเมินความก้าวหน้าและประเมินผลสรุป ลักษณะของงานประเมิน การประเมินความก้าวหน้า การประเมินผลสรุป วัตถุประสงค์ ปรับปรุงโครงการ ให้สารสนเทศประโยชน์ของโครงการ ผู้ใช้ผลฯระดับแรก ผู้บริหารและคณะดำเนินโครงการ ผู้บริหารระดับนโยบาย ผู้ให้ทุน ผู้ประเมิน ผู้ประเมินภายในโครงการ ควรเป็นผู้ประเมินภานนอกโครงการ ลักษณะการวัด -ทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ -เป็นระยะ บ่อย ๆ -เป็นทางการ เน้นความตรง ความเที่ยง -ครั้งเดียว
เปรียบเทียบการประเมินความก้าวหน้าและประเมินผลสรุป ลักษณะของงานประเมิน การประเมินความก้าวหน้า การประเมินผลสรุป กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเล็กกว่า -กลุ่มใหญ่กว่า -ครอบคลุมกว่า ประเด็นที่สนใจหรือคำถามที่ต้องการให้ตอบ -ทำอะไรบ้าง -ทำได้เท่าไร -มีอะไรบ้างต้องปรับปรุงและจะปรับปรุงอย่างไร -ต้องการทรัพยากรอะไรเพิ่มเติม -มีผลอะไรเกิดขึ้นบ้างและกับใคร ภายใต้เงื่อนไขอะไร เพราะอะไร -ค่าใช้จ่ายเป็นอย่างไร -ควรยุติ ทำต่อหรือไม่อย่างไร
การประเมินแบบ CIPP สภาพแวดล้อม ปัจจัยนำเข้า (Input) (Context) ปัจจัยนำเข้า (Input) ผลผลิต (Out put) กระบวนการ (Process) เพื่อตัด สินใจ เกี่ยวกับ การ วางแผน เพื่อตัด สินใจ เกี่ยวกับ การ กำหนด โครงสร้าง/ รูปแบบ ของโครงการ เพื่อตัด สินใจ เกี่ยวกับ การ ดำเนิน โครงการ เพื่อตัด สินใจ เกี่ยวกับ ผลเมื่อเสร็จ สิ้นโครงการ
การประเมิน สภาพแวดล้อม (Context) 1.ได้มาซึ่งเหตุผล 2.ช่วยกำหนดวัตถุประสงค์ ที่เน้นความสัมพันธ์กับ สภาพแวดล้อม ความต้องการ 3.ได้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ 4.เรียงลำดับปัญหา การประเมิน สภาพแวดล้อม (Context)
การประเมิน สภาพแวดล้อม (Context) 2 วิธี 1. Contingency Mode เป็นการประเมินด้านโอกาส และแรงดันจากภายนอก 2. Congruence Mode เป็นการประเมินเปรียบเทียบ การปฏิบัติจริงกับ วัตถุประสงค์ที่วางไว้ การประเมิน สภาพแวดล้อม (Context)
การประเมิน ปัจจัยนำเข้า (Input) (4 M) การประเมิน ปัจจัยนำเข้า (Input) -คน -เงิน -วัสดุครุภัณฑ์ -การบริหารจัดการ
การประเมิน สภาพแวดล้อม (Context) 2 วิธี Contingency Mode เป็นการประเมินด้านโอกาส และแรงดันจากภายนอก 2. Congruence Mode เป็นการประเมินเปรียบเทียบ การปฏิบัติจริงกับ วัตถุประสงค์ที่วางไว้ การประเมิน สภาพแวดล้อม (Context)
การประเมิน กระบวนการ (Process) เพื่อ 1.หาและทำนายข้อบกพร่อง ของกระบวนการ หรือการ ดำเนินการขั้นต่อไป 2.เป็นข้อมูลการตัดสินใจ วางแผนงาน 3.เป็นรายงานสะสมถึงการ ปฏิบัติต่างๆ ที่เกิดขึ้น การประเมิน กระบวนการ (Process)
การประเมิน ผลผลิต (Product) เพื่อวัดความสำเร็จ ของโครงการ
ขั้นตอนการประเมินโครงการ 1) กำหนดขอบเขตการประเมิน (1) วิเคราะห์บริบทและกำหนดกรอบการประเมิน (2) ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับสารสนเทศในการประเมิน จากผู้เกี่ยวข้อง (3) กำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน (4) การเลือกคำถาม/ประเด็นการประเมิน (5) กำหนดดัชนีและเกณฑ์ (6) เลือกรูปแบบการประเมิน (7) วางแผนรวบรวมข้อมูล (8) เลือกใช้เทคนิคการเก็บข้อมูล
ตารางวิเคราะห์การกำหนดขอบเขตการประเมิน ผู้ต้องการใช้ข้อมูล เพื่อกำหนดนโยบาย เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับการดำเนินงาน เพื่อจัดสรรทรัพยากร เพื่อ.......... สนใจต้องการทราบเท่านั้น 1.ผู้ให้ทุน 2.คณะกรรมการโครงการ 3.ผู้ปฏิบัติ / ต้องการทราบอะไร การบรรลุวัตถุประสงค์ , ประสิทธิภาพการดำเนินโครงการ
การจัดทำโครงการ และแผนการประเมินโครงการ
องค์ประกอบของโครงการประเมิน 1.ชื่อโครงการ 2.หลักการและเหตุผล (ความสำคัญ ความจำเป็น ความเป็นมา) 3.วัตถุประสงค์ (ประเมินเพื่ออะไร) 4.วิธีดำเนินการ (ประเมินอย่างไร) 4.1 ประชากรที่ต้องศึกษา 4.2 กลุ่มตัวอย่าง 4.3 ตัวแปรที่ต้องประเมิน 4.4 เครื่องมือ 4.5 วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 4.6 วิธีวิเคราะห์ข้อมูล
5. เกณฑ์การประเมิน 6. ผู้รับผิดชอบโครงการ 7. ระยะเวลาในการประเมิน 8. ทรัพยากรที่ใช้ (คน เงิน วัสดุ เครื่องมือ ฯลฯ)
แผนการประเมินโครงการ วัตถุ ประ สงค์ เด็นการประ เมิน ดัชนี เกณฑ์การประ แหล่ง ข้อมูล วิธีเก็บรวบ รวมข้อมูล วิธี วิ เคราะห์ข้อมูล 1.เพื่อศึกษา ถึงสภาพการดำเนินงานเกี่ยวกับหลักสูตร วิทยากร เอกสาร 1.1 ด้านหลักสูตร 1.2 ด้านวิทยากร 1.3 ด้าน.... 1.1ความเหมาะสมของหลักสูตร การจัดลำดับเนื้อหา 1.2 ความเหมาะสมของวิทยากร 1.3........ 1.1ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรมที่มีต่อหลักสูตรและการจัดลำดับเนื้อหามีค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.5 ขึ้นไป 1.2 ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม เจ้าหน้าที่ที่มี วิทยากรมีค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 4 ขึ้นไป 1.1 ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรมทุกคน 1.2ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรมและเจ้าหน้าที่โครงการทุกคน 1.2ใช้แบบสอบ ถามความคิดเห็นโดยมีระดับความคิดเห็น 5 ระดับ โดยเก็บจากผู้เข้ารับการอบรมทุกคนหลังจากการอบรมเสร็จแล้ว ถามความคิดเห็นโดยมีระดับความคิดเห็น 5 ระดับ โดยเก็บจากผู้เข้ารับการอบรมและเจ้าหน้าที่โครงการทุกคนหลังจากการอบรมเสร็จแล้ว -คำนวณหาค่าเฉลี่ย X และ S.D
-เกณฑ์สมบูรณ์ (Absolute Criteria) เป็นสากล มาตรฐาน การกำหนดเกณฑ์ -เกณฑ์สมบูรณ์ (Absolute Criteria) เป็นสากล มาตรฐาน -เกณฑ์สัมพัทธ์ (Relative Criteria) เปรียบเทียบ กับโครงอื่นที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ,ร่วมกันกำหนด) เทคนิคการเก็บข้อมูล -แบบทดสอบ -แบบสอบถาม -สังเกต -สัมภาษณ์
รายงานผลการประเมิน 1) ปกนอก ประกอบด้วย -ชื่อรายงานการประเมิน -ผู้รับผิดชอบ -หน่วยงานที่รับผิดชอบ -วัน เดือน ปี 2) ปกใน 3) คำนำ 4) สารบัญ
5.บทที่ 1 ประกอบด้วย 1) ภูมิหลัง หรือหลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ในการประเมิน 3) ความสำคัญหรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4) ขอบเขตของการประเมิน 6.บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 7.บทที่ 3 วิธีดำเนินการประเมิน 1) ประชากรที่ทำการประเมิน 2) กลุ่มตัวอย่าง 3) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 4) การเก็บรวบรวมข้อมูล 5) เกณฑ์ในการประเมิน 6) สถิติที่ใช้ในการประเมิน
8. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2) ผลการประเมิน 9. บทที่ 5 สรุปผลการประเมิน อภิปราย และข้อเสนอแนะ 10. บรรณานุกรม 11. ภาคผนวก