การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

4/2/2017 Triple A Process ระบบการกำกับติดตามผลการดำเนินนโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และจุดเน้น สพฐ.
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
บทบาทศึกษานิเทศก์ กับ การสนับสนุน eDLTV ในโรงเรียน
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
PCTG Model อริยมงคล 55.
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วันที่ ๑๓-๑๔ กันยายน ๒๕๕๖ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ จอมเทียน ชลบุรี
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ O-NET
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปี ๒๕๕๓
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
กลุ่มวิจัยและพัฒนานโยบาย
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
ดร.นิวัตต์ น้อยมณี การประเมินห้องเรียนคุณภาพ โดย
มาตรฐานวิชาชีพครู.
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การนำนโยบายและแนวปฏิบัติ การรับนักเรียนสู่การปฏิบัติ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
การส่งเสริมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติ สังคมศึกษา
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
การประชุมเตรียมการเข้า ร่วมแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนครั้งที่ 62 ที่จังหวัดชัยภูมิ 30 ตุลาคม 2555.
การพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาไทย ปี ๒๕๕๓
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การดำเนินงานโครงการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ การประเมิน จาก ภายนอก รอบสาม ของ สพป. กาญจนบุรี เขต ๑.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การประชุมผู้ปกครองนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ เรื่อง “กำหนดการสอบและเอกสารการศึกษา”” โดย นางพรรณี จินตมาศ.
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มาตรการส่งเสริม โรงเรียนบ้านเขาแก้ววิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1.
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
๘ กลยุทธ์ การยกระดับและคุณภาพ O-NET ปี ๒๕๕๕
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๖ วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ นายเสริมศักดิ์
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
วันอังคารที่ 25 กุมภาพันธ์ 2557 ณ ห้องประชุมศรีสว่างรัตน์
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ วันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ ฯพณฯ พงศ์เทพ เทพ.
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy) บทสัมภาษณ์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจาตุรนต์ ฉายแสง) จากสื่อมวลชน “ขณะนี้มีเสียงสะท้อนของครูเรื่องภาษาไทย ว่า เด็กของเราอ่อนภาษาไทยมาก และจากคะแนน NT (National Test) ล่าสุดในวิชาภาษาไทย เป็นการสะท้อนปัญหาการจัดการศึกษาทั้งระบบ ตั้งแต่หลักสูตรที่ไม่ได้เน้นภาษาไทยตั้งแต่เด็ก เพราะมีการสอนถึง ๘ กลุ่มสาระ ทำให้ประสิทธิภาพของการเรียนการสอนภาษาไทยต่ำ และการไม่มีการทดสอบวัดผลที่เป็นมาตรฐานในเรื่องความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย ซึ่งเด็กชั้นประถมศึกษาจะได้วัดก็ต่อเมื่ออยู่ชั้น ป.๓ และจะวัดอีกครั้งตอนเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนบางแห่งที่จะให้มีการวัดผลเท่านั้น นอกเหนือจากนี้เป็นเรื่องของความรู้สึกของผู้เกี่ยวข้องว่า เด็กยังรู้ภาษาไทยน้อย การวัดและประเมินผลก็จะเป็นปัญหา จึงเป็นตัวอย่างให้เห็นว่าการจะปฏิรูปการศึกษาต้องทำทั้งระบบ ตั้งแต่กระบวนการเรียนรู้ของเด็ก การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ เช่น เด็กไม่รู้ภาษา อ่านไม่ได้ ฟังไม่เข้าใจ การเรียนวิชาต่าง ๆ ก็จะอ่อนทั้งหมด”

สภาพการเรียนรู้ภาษาไทย นักเรียน มีปัญหาอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้

ผลประเมินผลสัมฤทธิ์ภาษาไทย ชั้น ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ NT ป.๓ ๕๐.๗๔ ๕๔.๗๘ ๔๒.๙๔ O – NET ป.๖ ๓๑.๒๒ ๕๐.๐๔ ๔๕.๖๘  O – NET ม.๓ ๔๒.๘๐ ๔๘.๑๑ ๕๔.๔๘ O – NET ม.๖ ๔๒.๖๑ ๔๑.๘๐ ๔๗.๑๙ ที่มา: สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

การอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ การเร่งรัดคุณภาพ การอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ ผู้เรียนทุกคนสามารถอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้ เพื่อการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ และการเรียนรู้ ตลอดชีวิต สู่การเสริมสร้างทักษะอาชีพและทักษะชีวิต เป้าหมาย

นักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ต้องไม่มี จากนโยบายสู่การปฏิบัติ นักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ต้องไม่มี สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศนโยบาย สพป.สพม. กำหนดมาตรการเร่งรัดคุณภาพ อย่างเข้มข้น จัดทำเครื่องมือตรวจสอบ และคัดกรอง นร. ป.๓ และ ป.๖ ติดตาม ตรวจสอบความก้าวหน้า ทั้งระบบ (Online :Triple A) และติดตามเชิงประจักษ์ ทุกระยะ ตรวจสอบและคัดกรอง นร. ป.๓ และ ป.๖ ทุกคน และวิเคราะห์ สภาพปัญหาเป็นรายบุคคล ๒. พัฒนาครู /จัดหาสื่อ นวัตกรรม ภายในช่วงปิดภาคเรียน กำกับ ติดตาม ช่วยเหลือ ร.ร. และรายงาน ผลต่อ สพฐ. จัดทำข้อมูลปัญหา นร.เป็นรายบุคคล ประสานผู้ปกครอง รับทราบปัญหา และร่วมมือแก้ไขปัญหา ทำแผนซ่อมเสริมและซ่อมเสริม นร. เป็นรายบุคคล สรุปและรายงานผล ต่อ สพป./สพม. ภายในภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๖ ๑. เอาใจใส่ดูแลบุตรหลาน อย่างใกล้ชิด ให้ความร่วมมือสนับสนุน โรงเรียน ติดตามความก้าวหน้า การแก้ไขปัญหาอย่างใกล้ชิด โรงเรียน ผู้ปกครอง

แผนการดำเนินงานระยะเร่งด่วน วัน/เดือน/ปี หน่วยงาน กิจกรรม ๒๖ – ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๖ สทศ. จัดทำเครื่องมือตรวจสอบเพื่อคัดกรอง นักเรียนชั้น ป.๓ / ป.๖ ทุกเขตพื้นที่ ๔ – ๕ กันยายน ๕ กันยายน เวลา ๑๔.๓๐ น. สวก., สวก. สพฐ. ประกาศนโยบาย เร่งรัด พัฒนา แก้ไข ปัญหานักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ “อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ต้องไม่มี” ประชุมสัมมนา ผอ.เขต/ผอ.กลุ่มนิเทศ ชี้แจงนโยบาย ณ โรงแรมอะเดรียติค เขตมักกะสัน กรุงเทพฯ รัฐมนตรีแถลงนโยบาย ณ กระทรวงศึกษาธิการ ๙ – ๒๐ กันยายน สพป./สพม. ดำเนินการตรวจสอบและคัดกรองการอ่านฯ ของนักเรียนตามเครื่องมือของ สพฐ. - วิเคราะห์และสรุปผลจำแนกตามกลุ่มปัญหา - รายงานผลตามแนวทาง Triple A

แผนการดำเนินงานระยะเร่งด่วน วัน/เดือน/ปี หน่วยงาน กิจกรรม ๒๒ กันยายน ๒๕๕๖ สพป./สพม. สศศ. ทำข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่าง สพฐ. และ ผอ.สพป.สพม. และผอ.สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ระยะแรก ตุลาคม ระยะที่ ๒ พฤศจิกายน –ธันวาคม ๒๕๕๖ และมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๗ พัฒนาครูทุกโรงเรียน จัดหา/พัฒนา สื่อ นวัตกรรม สนับสนุน ช่วยเหลือโรงเรียน ตามความจำเป็นเร่งด่วน ๒. นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือโรงเรียน อย่างใกล้ชิด ๓. รายงานผลการดำเนินงานต่อ สพฐ.

แผนการดำเนินงานระยะเร่งด่วน วัน/เดือน/ปี หน่วยงาน กิจกรรม ตลอด ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ โรงเรียน - กำหนดนโยบายให้ครูทุกคนมีส่วนร่วม แก้ไขปัญหานักเรียน - ประสานผู้ปกครองร่วมแก้ไขปัญหา - ซ่อมเสริมนักเรียนเป็นรายบุคคล - สนับสนุน ส่งเสริมให้ครูพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการเรียนการสอน - กำกับ ดูแล และช่วยเหลือครูผู้สอน - รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน ต่อ สพป./สพท. ตามที่กำหนด

การติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๒ กันยายน ๒๕๕๖ ๑. สุ่มติดตามทางโทรศัพท์ สพป. จำนวน ๑๐๐ เขต คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๖๔ ๒. ดำเนินการตรวจสอบแล้ว ร้อยละ ๑๐.๙๒ กำหนดระหว่างวันที่ ๑๓ – ๒๐ กันยายน ๒๕๕๖ ร้อยละ ๘๘.๕๔ กำหนดหลังวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๖ ๑ เขต คิดเป็นร้อยละ ๐.๕๔ เนื่องจากช่วงวันที่กำหนด มีภาระงานอื่นกำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว ไม่สามารถเลื่อนได้ ๕. มีการดำเนินการตามขั้นตอนในแนวทางที่ สทศ. กำหนด มีการจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมจากที่ สพฐ.จัดให้ ร้อยละ ๓๐.๕๐ ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ เช่น - หลายเขตต้องกำหนดล่าช้าประมาณวันที่ ๑๘ – ๒๐ กันยายน ขึ้นไป เพราะมีภาระงานอื่นกำหนดไว้ล่วงหน้า - งบประมาณน้อย

ระยะต่อไป ๑. พัฒนารูปแบบวิธีสอนการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ ระยะต่อไป ๑. พัฒนารูปแบบวิธีสอนการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ - ศึกษาวิจัยและพัฒนารูปแบบวิธีสอนที่ได้ผลและเผยแพร่ - พัฒนา/จัดหาสื่อนวัตกรรมการสอนการอ่านรู้เรื่องและสื่อสาร สนับสนุน สพป./สพม./โรงเรียน - พัฒนาศึกษานิเทศก์แกนนำให้สามารถพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารอย่างหลากหลาย - ส่งเสริมสพป./สพม.ให้พัฒนารูปแบบวิธีสอนที่ได้ผล แลกเปลี่ยนรู้ และเผยแพร่อย่างกว้างขวาง - รายงานความก้าวหน้าต่อกระทรวงศึกษาธิการอย่างต่อเนื่อง สพฐ. พัฒนาครูให้มีเทคนิค/รูปแบบวิธีสอนอย่างหลากหลาย พัฒนา/จัดหาสื่อการสอนที่สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น ติดตาม นิเทศ ให้ความช่วยเหลือโรงเรียนอย่างใกล้ชิด - รายงานความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง สพป. /สพม. - คัดเลือกครูสอนภาษาไทยเก่งให้รับผิดชอบชั้น ป.๑ - ๓ ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือครูผู้สอนอย่างใกล้ชิด สร้างความตระหนักครูทุกกลุ่มสาระให้ความสำคัญต่อการ พัฒนาการอ่านรู้เรื่องและลื่อสารได้ของนักเรียนทุกระดับชั้น ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือครูผู้สอนให้ใช้รูปแบบวิธีสอน อย่างหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้อย่างคงทน - รายงานความก้าวหน้าต่อ สพป./สพม. ทุกระยะ โรงเรียน

ระยะต่อไป ๒. เร่งส่งเสริมมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐ และเอกชนให้มากขึ้น ระยะต่อไป ๒. เร่งส่งเสริมมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐ และเอกชนให้มากขึ้น - ประสานเครือข่าย องค์กรภาครัฐและเอกชน ในการส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ อย่างหลากหลาย ทั้งด้านองค์ความรู้ สื่อ และนวัตกรรม สพฐ. - ประสานเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ ในการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาการอ่าน รู้เรื่องและสื่อสารได้อย่างหลากหลาย ทั้งด้านงบประมาณ องค์ความรู้ สื่อ และนวัตกรรม - จัดกิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนท้องถิ่น สพป. /สพม. ประสานผู้ปกครองอย่างใกล้ชิด เพื่อให้มีส่วนร่วมในการดูแล เอาใจใส่บุตรหลาน ในการพัฒนาการอ่านการเขียน ประสานชุมชนอย่างใกล้ชิดในการให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน กิจกรรมของโรงเรียนในทุก ๆ ด้าน ตามสภาพความพร้อม ของท้องถิ่น - จัดกิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนท้องถิ่น โรงเรียน

ระยะต่อไป ๓. กำกับติดตามและประเมินผล ระยะต่อไป ๓. กำกับติดตามและประเมินผล * ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของ สพป. /สพม. ใน การพัฒนาการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ - ติดตามการดำเนินงานของ สพป./สพม. ตามกลยุทธ์จุดเน้น - สุ่มตรวจสอบบางเขตพื้นที่ (spot check) *รายงานความก้าวหน้าต่อกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. *กำกับติดตาม ประเมินผล และนิเทศให้ความช่วยเหลือโรงเรียน ในการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ - รายภาค/รายปี - สรุปและรายงานผลต่อ สพฐ. สพป. /สพม. *กำกับติดตาม นิเทศ และให้ความช่วยเหลือครู ในการพัฒนา การอ่านรู้เรื่องและสื่อสาร - รายเดือน/รายภาค - สรุปและรายงานความก้าวหน้าต่อ สพป./สพม. โรงเรียน

ภายในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ภายในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ นักเรียนชั้น ป.๓ และ ป.๖ ทุกคน อ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้