What is MEQ Workshop on “MEQ Examination for Preclinical Years”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
INTRODUCTION TO HEALTH ECONOMICS
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
การตัดเกรด โดย อาจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
งานวิจัยและตำแหน่งวิชาการ
Do Research Prabhas Chongstitvatana Chulalongkorn University 13 September 2013
Clinical Reasoning (clinical analysis & decision making)
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
ความเห็นจากครูแพทย์ (เก่า) คนหนึ่ง
หลักการจัดการเรียนการสอน
Knowledge Management (KM)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ. ศ
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
Table of specification
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
บัณฑิตที่พึงประสงค์.
การสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก (Qualify Examination : QE)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
สรุปที่เรียนมา วิเคราะห์การบ้านงานกลุ่ม
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
(Competency Based Curriculum)
การผลิตคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การวางแผนยุทธศาสตร์.
Oct 6, 2009 Planning for e-Learning Teaching ฐาปนีย์ ธรรมเมธา กอบกุล สรรพกิจจำนง.
ADDIE Model.
จำ Remember - Knowledge เข้าใจ Understanding ประยุกต์ Application วิเคราะห์ ( ความรู้ ) Analysis สังเคราะห์ ( เป็นความรู้ ใหม่ ) Synthesis 6 ขั้น.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
มศว 365 การจัดการสมัยใหม่ (Principles of Modern Management)
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
E- Learning e- Learning นพ. สิทธิโชค อนันตเสรี ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
Establishing a Culture of Achievement: Multiliteracies in the ELT Classroom Session #2: 27 July 2012.
การ ประเมินผ ล. Outline ความสัมพันธ์ระหว่าง การประเมินกับ วัตถุประสงค์ ความสัมพันธ์ระหว่าง การประเมินกับ วัตถุประสงค์ หลักการทั่วไปของการ ประเมิน หลักการทั่วไปของการ.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
Active Learning ผศ. ดร. เยาวเรศ ภักดีจิตร ภาควิชาหลักสูตร และการสอน.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
หมวด ๒ กลยุทธ์.
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ
การประเมินผลการเรียนรู้
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ความรู้เกี่ยวกับ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
Medical Communication/Counseling Training for the “Trainers” คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ธันวาคม 2558.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

What is MEQ Workshop on “MEQ Examination for Preclinical Years” Feb 8-9, 2006 Assoc. Prof. Pannee Sirivatanapa

วัฏจักรการศึกษา Objective Learning experience Evaluation

Objective Knowledge Skill Attitude จำได้ ➙ เข้าใจ ➙ แก้ปัญหาได้ รู้วิธีทำ ➙เข้าใจวิธีทำ ➙ทำได้ถูกต้อง Attitude จำได้➙อธิบายได้➙นำไปปฏิบัติในชีวิตจริง

Learning Experience ❃ Lecture / skill lab ❃ Small group teaching / discussion ❃ Case study ❃ Seminars ❃ Clinical / on-the-job teaching ❃ Role play ❃ Case conference ❃ SDL / independent learning ❃ etc

Evaluation Measurement (how much) + Value judgment (how good)

Evaluation Method ✵ MCQ (multiple choice questions) ✵ MEQ (modified essay questions) ✵ OSLER (objective structured long examination record) ✵ OSCE (objective structured clinical examination) ✵ Triple jump exercise ✵ Observation ✵ Oral examination ✵ etc.

Quality of an Evaluation Method Validity (ตรงกับสิ่งที่ต้องการวัด) Reliability (consistency วัดใหม่ได้คะแนนคงที่) Objectivity (ไม่ controversy มีคำตอบเฉพาะ) Comprehensiveness (ไม่กำกวม) Practicability, feasibility, usability (สะดวก,ประหยัด, ปฏิบัติได้จริง) Appropriate level of difficulty Good discrimination (จำแนกคนเก่ง/อ่อนได้)

คุณสมบัติบัณฑิตแพทย์เชียงใหม่ มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่เหมาะสมต่อการประกอบกับวิชาชีพเวชกรรม มีร่างกายและจิตใจที่ไม่เป็นอุปสรรคในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม

คุณสมบัติบัณฑิตแพทย์เชียงใหม่ (ต่อ) สามารถแก้ไขปัญหาในเวชปฏิบัติปฐมภูมิ โดยคำนึงถึงปัญหาทางร่างกาย จิตใจ เศรษฐานะ สิทธิของผู้ป่วย และสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับตัวผู้ป่วย ครอบครัวและชุมชน สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีระบบ โดยใช้วิจารณญาณและรู้ขีดความสามารถของตนเอง

คุณสมบัติบัณฑิตแพทย์เชียงใหม่ (ต่อ) มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร สร้างมนุษยสัมพันธ์และถ่ายทอดความรู้ มีนิสัยใฝ่รู้และศึกษาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ และสามารถใช้เทคโนโลยี่การสื่อสารสนเทศอย่างเหมาะสม

คุณสมบัติบัณฑิตแพทย์เชียงใหม่ (ต่อ) สามารถปรับตัวและพัฒนาตนเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมบนพื้นฐานของคุณธรรม มีภาวะความเป็นผู้นำ รู้หลักการ และมีวิสัยทัศน์ในการบริหารจัดการด้านการแพทย์ การสาธารณสุขและงานทั่วไป

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ (2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา

PBL (Problem-based Learning) to use PBL as a vehicle to develop a usable body of integrated knowledge to develop problem-solving skills

PBL Tutorial Process Step 1 Identify and clarify unfamiliar terms Step 2 Define the problem (s) Step 3 Brainstorming Step 4 Setting of hypothesis Step 5 Formulate learning objectives Step 6 Private study (SDL) Step 7 Group shares result of private study

Taxonomy of Cognitive Domain 6 steps (low ➙ high level) 1. Recall or knowledge (จำ) 2. Comprehension (เข้าใจ) 3. Application (นำไปใช้) 4. Analysis (วิเคราะห์) 5. Synthesis (สังเคราะห์) 6. Evaluation (ประเมินค่า) Problem solving = step 3 ➙ step 6

What is MEQ ? MEQ = a logical sequence of short answer questions relating to an initial scenario or clinical problem (Hodgkin & Know, 1975)

Format of MEQ ✤ Must be answered in the sequence asked ✤ Constitute a series of questions ✤ Must be answered in the sequence asked ✤ No review of previous answer

Critique of MEQ MEQ is a useful “paper and pencil” tool designed to evaluate ► Student’s abilities of problem-solving ► Student’s understanding of problem- related content from the basic and clinical sciences

Critique of MEQ (cont.) MEQ also allows assessment of ► Various problem-solving skills ► Student’s ability to * analyze * interpret * synthesize new information related to the problem.

Patterns of MEQ Order of Questions Area to Assess (clinical presentation) Hypothesis,mechanism ⇓ (addition of presentation) Applied basic science (more data) Interpretation of diagnostic information (more data) Management issues (more data) Ethics issues (more data) Prognosis (more data) Disease complication

The uses of MEQ To assess : ♣ Clinical reasoning skills ♣ Understanding and knowledge of clinical and basic science ♣ Application of basic science to clinical problem

Thank you for Attention