“Knowledge Management in Health Care”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
CoPsป้องกันและดูแลแผลกดทับ
Advertisements

Knowledge Management (KM)
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
Knowledge Management (KM)
K M คือ Knowledge Management
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO )
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
บันทึกจากการฟังการบรรยายเรื่อง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
(Knowledge Management : KM)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การจัดการความรู้ทางการแพทย์ ในโรงพยาบาลราชวิถี
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มช.
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
Learning Organization & Knowledge Management
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
Quality Improvement Track
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ.
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“Knowledge Management in Health Care” การบรรยาย เรื่อง “Knowledge Management in Health Care” โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด prapon@kmi.or.th http://intuitionflow.blogspot.com ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการสื่อสารพัฒนาการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) www.kmi.or.th

แนวคิด “การจัดการ” ความรู้ Create/Leverage Access/Validate เข้าถึง ตีความ สร้างความรู้ ยกระดับ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge รวบรวม/จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เรียนรู้ร่วมกัน store apply/utilize Capture & Learn มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้ ยกระดับ Care & Share เน้น “2T” Tool & Technology เน้น “2P” Process & People

KM ส่วนใหญ่ ไป“ผิดทาง” อย่าลืมว่า ต้อง “สมดุล” ให้ความสำคัญกับ“2P” People & Processes ให้ความสำคัญกับ “2T” Tool & Technology

มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” แนวทางหนึ่ง ที่จะช่วยให้ “ไม่ไปผิดทาง” KM Model “ปลาทู” Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Assets (KA) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision KV KS KA

ร.พ. ที่ 1 กรอบแนวคิดการประเมินตนเองตามบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA   เริ่มต้น (ระดับ 1) พอใช้ (ระดับ2) ดี ( ระดับ3) ดีมาก (ระดับ4) ดีเยี่ยม (ระดับ5) 1. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย 2. การทบทวนความคิดเห็น/คำร้องเรียนของ ผู้รับบริการ 3. การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา 4. การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชำนาญกว่า 5. การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง 6. การป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 7. การป้องกันและเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 8. การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สำคัญ 9. การทบทวนความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 10. การทบทวนการใช้ข้อมูลวิชาการ 11. การทบทวนการใช้ทรัพยากร 12. การติดตามเครื่องชี้วัดสำคัญ กรอบแนวคิดการประเมินตนเองตามบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA (Self Assessment Framework for HA) ร.พ. ที่ 1

ระดับปัจจุบันของ รพ.ที่ 1 และรพ.อื่นๆ

ระดับที่แตกต่างของแต่ละองค์ประกอบ

“ธารปัญญา” แสดงระดับปัจจุบันของ รพ. ที่ 1 เมื่อเทียบกับกลุ่ม

จาก KV สู่ KS Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน KS

ในเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล ช่องว่าง (Gap) ระหว่างระดับที่เป็นเป้าหมาย (Target) กับระดับปัจจุบัน (Current) ในเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล Target Current

6. การป้องกันและเฝ้าระวัง การติดเชื้อในโรงพยาบาล ร.พ.7 GAP ( = Target minus Current) 5 4 3 2 1 LEVEL พร้อมให้ 6. การป้องกันและเฝ้าระวัง การติดเชื้อในโรงพยาบาล ร.พ.7 ร.พ.2, 8 ร.พ.5, 9 ใฝ่รู้ ร.พ.6 ร.พ.1 ร.พ.3 ร.พ.4 ร.พ.10, 11

ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs จาก KS สู่ KA Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs KA

..... เป็นขุมความรู้ (Knowledge Assets) ที่มีบริบท และรายละเอียด ตามกาละและเทศะที่ต้องการความรู้นั้น ประเด็น/หลักการ “ เรื่องเล่า &คำพูด “เราทดลองวิธีการใหม่ …” แหล่งข้อมูล/บุคคล โทร. ...

จาก Model KM ฉบับปลาทู ความคิดจิตสำนึก Shared Vision วงจรเสริมแรง ประสาทสัมผัสที่หก แรงบันดาลใจ ความรัก Action จิตเหนือสำนึก (การหยั่งรู้) Team Learning รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น กาย ความคิดจิตสำนึก (การรับรู้) การตีความ การเรียกข้อมูล จิตใต้สำนึก (ประสบการณ์) เป็นการจัดการความรู้ที่ ควบคู่กับการพัฒนาปัญญา ที่มาจากสติ เมตตา สมาธิ การบันทึกข้อมูล วงจรเสริมแรง