“Knowledge Management in Health Care” การบรรยาย เรื่อง “Knowledge Management in Health Care” โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด prapon@kmi.or.th http://intuitionflow.blogspot.com ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการสื่อสารพัฒนาการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) www.kmi.or.th
แนวคิด “การจัดการ” ความรู้ Create/Leverage Access/Validate เข้าถึง ตีความ สร้างความรู้ ยกระดับ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge รวบรวม/จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เรียนรู้ร่วมกัน store apply/utilize Capture & Learn มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้ ยกระดับ Care & Share เน้น “2T” Tool & Technology เน้น “2P” Process & People
KM ส่วนใหญ่ ไป“ผิดทาง” อย่าลืมว่า ต้อง “สมดุล” ให้ความสำคัญกับ“2P” People & Processes ให้ความสำคัญกับ “2T” Tool & Technology
มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” แนวทางหนึ่ง ที่จะช่วยให้ “ไม่ไปผิดทาง” KM Model “ปลาทู” Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Assets (KA) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision KV KS KA
ร.พ. ที่ 1 กรอบแนวคิดการประเมินตนเองตามบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA เริ่มต้น (ระดับ 1) พอใช้ (ระดับ2) ดี ( ระดับ3) ดีมาก (ระดับ4) ดีเยี่ยม (ระดับ5) 1. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย 2. การทบทวนความคิดเห็น/คำร้องเรียนของ ผู้รับบริการ 3. การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา 4. การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชำนาญกว่า 5. การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง 6. การป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 7. การป้องกันและเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 8. การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สำคัญ 9. การทบทวนความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 10. การทบทวนการใช้ข้อมูลวิชาการ 11. การทบทวนการใช้ทรัพยากร 12. การติดตามเครื่องชี้วัดสำคัญ กรอบแนวคิดการประเมินตนเองตามบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA (Self Assessment Framework for HA) ร.พ. ที่ 1
ระดับปัจจุบันของ รพ.ที่ 1 และรพ.อื่นๆ
ระดับที่แตกต่างของแต่ละองค์ประกอบ
“ธารปัญญา” แสดงระดับปัจจุบันของ รพ. ที่ 1 เมื่อเทียบกับกลุ่ม
จาก KV สู่ KS Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน KS
ในเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล ช่องว่าง (Gap) ระหว่างระดับที่เป็นเป้าหมาย (Target) กับระดับปัจจุบัน (Current) ในเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล Target Current
6. การป้องกันและเฝ้าระวัง การติดเชื้อในโรงพยาบาล ร.พ.7 GAP ( = Target minus Current) 5 4 3 2 1 LEVEL พร้อมให้ 6. การป้องกันและเฝ้าระวัง การติดเชื้อในโรงพยาบาล ร.พ.7 ร.พ.2, 8 ร.พ.5, 9 ใฝ่รู้ ร.พ.6 ร.พ.1 ร.พ.3 ร.พ.4 ร.พ.10, 11
ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs จาก KS สู่ KA Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs KA
..... เป็นขุมความรู้ (Knowledge Assets) ที่มีบริบท และรายละเอียด ตามกาละและเทศะที่ต้องการความรู้นั้น ประเด็น/หลักการ “ เรื่องเล่า &คำพูด “เราทดลองวิธีการใหม่ …” แหล่งข้อมูล/บุคคล โทร. ...
จาก Model KM ฉบับปลาทู ความคิดจิตสำนึก Shared Vision วงจรเสริมแรง ประสาทสัมผัสที่หก แรงบันดาลใจ ความรัก Action จิตเหนือสำนึก (การหยั่งรู้) Team Learning รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น กาย ความคิดจิตสำนึก (การรับรู้) การตีความ การเรียกข้อมูล จิตใต้สำนึก (ประสบการณ์) เป็นการจัดการความรู้ที่ ควบคู่กับการพัฒนาปัญญา ที่มาจากสติ เมตตา สมาธิ การบันทึกข้อมูล วงจรเสริมแรง